ลำดับตอนที่ #3
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #3 : ปัจจัยในการอ่านการ์ตูนให้สนุกสนาน
สิ่งที่ทำให้เด็กอ่านการ์ตูนสนุกกว้าผู้ใหญ่คือกระบวนการคิดแบบเด็กเล็กมีดังนี้
1. Magical thinking
ความคิดแบบที่ไม่ต้องมีเหตุผลมากมารองรับ แบบเวทย์มนต์เพ้อฝัน ทำให้ยอมรับกติกาในการ์ตูนได้ง่าย
2.egocentric
ตัวองเปนศูนย์กลาง ทำให้สวมบทบาทเป็นตัวการ์ตูนได้ง่าย เพราะคิดว่าเรื่องต่างๆที่เกิดขึ้นมีผลจากตัวเอง
3.Phenomenalistic causality
เหตุการณ์ 2เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นมีผลต่อกัน เช่น เด็กไม่ทำการบ้าน แล้วพ่อตื่นสาย ผู้ใหญ่จะคิดว่าสองเหตุการณ์นี้ไม่เกี่ยวกัน แต่เด็กจะคิดว่า การที่เขาไม่ทำการบ้าน ทำให้พ่อตื่นสาย (ประมาณนี้ละมั้ง) นี่ทำให้อ่านการ์ตูนจากช่องไปช่องนึงได้รู้เรื่อง
4.animism
อันนี้สำคัญ คือการคิดว่าสิ่งใดที่เคลื่อนไหวได้มีชีวิต เช่นการคิดว่าของเล่นต่างๆมีชีวิต การเล่นกับตุ๊กตาที่เคลื่อนไหวไม่ได้โดยไม่เบื่อเส้นเคลื่อนไหวในการ์ตูนนำสายตา ทำให้ภาพดูแล้วเคลื่อนไหว เหมือนมีชีวิต
แต่ผู้ใหญ่ก็สามารถอ่านการ์ตูนให้สนุกได้หากมีกระบวนการคิดเหล่านี้อยู่
จากคอลัมป์การ์ตูนที่รัก โดยนายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
1. Magical thinking
ความคิดแบบที่ไม่ต้องมีเหตุผลมากมารองรับ แบบเวทย์มนต์เพ้อฝัน ทำให้ยอมรับกติกาในการ์ตูนได้ง่าย
2.egocentric
ตัวองเปนศูนย์กลาง ทำให้สวมบทบาทเป็นตัวการ์ตูนได้ง่าย เพราะคิดว่าเรื่องต่างๆที่เกิดขึ้นมีผลจากตัวเอง
3.Phenomenalistic causality
เหตุการณ์ 2เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นมีผลต่อกัน เช่น เด็กไม่ทำการบ้าน แล้วพ่อตื่นสาย ผู้ใหญ่จะคิดว่าสองเหตุการณ์นี้ไม่เกี่ยวกัน แต่เด็กจะคิดว่า การที่เขาไม่ทำการบ้าน ทำให้พ่อตื่นสาย (ประมาณนี้ละมั้ง) นี่ทำให้อ่านการ์ตูนจากช่องไปช่องนึงได้รู้เรื่อง
4.animism
อันนี้สำคัญ คือการคิดว่าสิ่งใดที่เคลื่อนไหวได้มีชีวิต เช่นการคิดว่าของเล่นต่างๆมีชีวิต การเล่นกับตุ๊กตาที่เคลื่อนไหวไม่ได้โดยไม่เบื่อเส้นเคลื่อนไหวในการ์ตูนนำสายตา ทำให้ภาพดูแล้วเคลื่อนไหว เหมือนมีชีวิต
แต่ผู้ใหญ่ก็สามารถอ่านการ์ตูนให้สนุกได้หากมีกระบวนการคิดเหล่านี้อยู่
จากคอลัมป์การ์ตูนที่รัก โดยนายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
ความคิดเห็น