BLACKMA!L★วางแผนร้ายให้กลายเป็นรัก [Yaoi] - นิยาย BLACKMA!L★วางแผนร้ายให้กลายเป็นรัก [Yaoi] : Dek-D.com - Writer
×

    BLACKMA!L★วางแผนร้ายให้กลายเป็นรัก [Yaoi]

    " พาผู้หญิงเข้าบ้านดีๆไม่ชอบ งั้นกูพาผู้ชายเข้าบ้านก็ได้วะ!? " =_= UP DATE :★BlackMail Top Secret [100%] ABOUT CH : ปิงอิท ปิงอิท ปิงอิท ^^

    ผู้เข้าชมรวม

    143,042

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    52

    ผู้เข้าชมรวม


    143.04K

    ความคิดเห็น


    5.18K

    คนติดตาม


    1.15K
    หมวด :  นิยายวาย
    จำนวนตอน :  31 ตอน
    อัปเดตล่าสุด :  30 ต.ค. 54 / 11:29 น.
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ



    BLACKMA!L

    นิยายเรื่องนี้อินดี้ ไม่เน้นขาย!! กร๊ากกก!!

     

    Warning : นิยายเรื่องนี้เป็นนิยาย ชายรักชาย ที่แต่งขึ้นด้วยจินตนาการ

    โดยตัวละครนั้นไม่มีอยู่จริง และสถานที่เป็นเพียงการอ้างอิงเท่านั้น มิได้ทำการตั้งใจเจาะจง

    หรือทำให้เสื่อมเสียแต่อย่างใด ^^ อาจมีคำหยาบคายในการแต่ง หากไม่ชอบ

     เชิญกดปิดได้เลยนะคะ


     

        

                                                   
        

    Personal  zone ^^



    อันนี้ นิยายใหม่ ที่กำลังวางพล็อต^^
    Condom Symphony
    Mistake!!★ซวยฉิบหาย ผมชอบผู้ชายเข้าแล้ว!!
    นิยายเรื่องโปรด(?) จีชอบแต่งแนวนี้ง่ะ



     Beast and Angel

    BLACKMAIL  BANNER ^^


    THX. So much  ^^

    Aquabob





    Friends  'n  Friends ^^   

    SO HANDSOME แผนไม่ลับ เปลี่ยนเพื่อนเป็นเมีย! (yaoi)
    i'm not yours 

    Damn Assho!e!!! ไอ้ฉิบหาย กูไม่ได้ชอบมึง★ [YAOI]

    Chuckle Family ครอบครัวอันตราย กูวายร้ายเกินพิกัด [YAOI]


    We are ...คือ เรารักกัน [Yaoi]

      

    Normal Love รักพื้นๆ กระตุกหัวใจ Yaoi Non-Bad Guy!! 





    beyo
    ng



    MusicPlaylistView Profile
    Create a MySpace Playlist at MixPod.com

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    คำนิยม Top

    "นิยาย"

    (แจ้งลบ)

    เป็นนิยายที่ดีนะ ชอบเพราะเนื้อเรื่องดูแบดๆ แต่น่ารัก แต่งได้แมทช์กันดี แต่จะมีคำวิบัติอยู่เยอะพอสมควรนะ ที่จริงจะเขียนภาษาวิบัติก็ได้อยู่หรอกเพื่อความทันสมัยอ่ะนะ แต่พอดีเราชอบภาษาไทยที่สละสลวย อิๆ แต่เราก็เขียนวิบัติเหมือนกันนะ ยังไงก็ลดภาษาวิบัตินิดนะครับ ยังไงๆ เราก็ชอบนิยายของคุณนะ แต่งต่อไปล่ะครับ อ่านเพิ่มเติม

    เป็นนิยายที่ดีนะ ชอบเพราะเนื้อเรื่องดูแบดๆ แต่น่ารัก แต่งได้แมทช์กันดี แต่จะมีคำวิบัติอยู่เยอะพอสมควรนะ ที่จริงจะเขียนภาษาวิบัติก็ได้อยู่หรอกเพื่อความทันสมัยอ่ะนะ แต่พอดีเราชอบภาษาไทยที่สละสลวย อิๆ แต่เราก็เขียนวิบัติเหมือนกันนะ ยังไงก็ลดภาษาวิบัตินิดนะครับ ยังไงๆ เราก็ชอบนิยายของคุณนะ แต่งต่อไปล่ะครับ  

    ~D_P_R~ | 17 ธ.ค. 53

    • 46

    • 0

    "Arts of story telling"

    (แจ้งลบ)

    Blackmail วางแผนร้ายให้กลายเป็นรัก และพอเปิดมาอีกลิ้งค์อันครีเช่ก็พบว่า... นิยายอีกเรื่องเป็นนิยายเกย์อีกแล้วค่ะ =O=! มันกลายเป็นฌอง (ประเภท...ประมาณว่า เหมือนสไตล์ของคนนั้นอ่ะค่ะ) ของ You are all my dream. ไปแล้ว ค่ะ...สำหรับเรื่อง Blacmail วางแผนร้ายให้กลายเป็นรักของไรท์เตอร์นั้น ภาษากับเนื้อเรื่องดูต่างจากเรื่องก่อนมาก ความสละสลวยต้องยกให ... อ่านเพิ่มเติม

    Blackmail วางแผนร้ายให้กลายเป็นรัก และพอเปิดมาอีกลิ้งค์อันครีเช่ก็พบว่า... นิยายอีกเรื่องเป็นนิยายเกย์อีกแล้วค่ะ =O=! มันกลายเป็นฌอง (ประเภท...ประมาณว่า เหมือนสไตล์ของคนนั้นอ่ะค่ะ) ของ You are all my dream. ไปแล้ว ค่ะ...สำหรับเรื่อง Blacmail วางแผนร้ายให้กลายเป็นรักของไรท์เตอร์นั้น ภาษากับเนื้อเรื่องดูต่างจากเรื่องก่อนมาก ความสละสลวยต้องยกให้อีกเรื่องนึงเป็นที่หนึ่งไปเลยค่ะ แต่ว่า... โดยส่วนตัวแล้วอันครีเช่ชอบอ่านนิยาย บทความที่ภาษาง่ายๆ มากกว่า มันไม่จำเป็นต้องปรับโหมดในสมองมากเท่าไหร่ แต่อย่างว่าล่ะค่ะ งานเขียนก็เป็นศิลปะหนึ่งในเจ็ดแขนง ไม่ว่าจะเป็นงานเขียนที่ภาษาเลิศเลอเพอร์เฟ็ก หรือเป็นงานเขียนที่มีบทบรรยายน้อยนิด อีโมติค่อนน่ารักๆ แต่มันก็คือศิลปะเหมือนกัน ในส่วนนี้ไรท์เตอร์ขาดความสละสลวยของคำไปนิด ไม่ได้หมายถึงการบรรยายโดยใช้ภาษาสูงๆ นะคะ แต่การบรรยายแนวนี้ก็สามารถทำให้ภาษาที่อ่านอยู่สวยได้เหมือนกัน อยากให้ไรท์เตอร์ลองกลับไปอ่านบทความของตัวเองอีกครั้ง ออกเสียงดังๆ ก็ได้ ไรท์เตอร์จะรู้เลยล่ะค่ะว่าตรงไหนควรเพิ่มคำเข้าไป และตรงไหนควรลดคำลงบ้าง Space เป็นสิ่งสำคัญมากไม่ว่าจะเป็นงานศิลปะชนิดไหนๆ ตั้งแต่ศิลปะแขนงแรกนั้นก็คือนาฏศิลป์ไปจนถึงแขนงที่เจ็ดนั่นก็คือภาพยนตร์ และวรรณกรรมก็ต้องการเช่นเดียวกันค่ะ ไรท์เตอร์ต้องเว้นจังหวะจะโคนในการเขียนให้ดี เราต้องรู้ว่าตรงไหนเราควรเว้นวรรคและตรงไหนเราควรปล่อยให้มันติดกัน การใช้ '...' ก็สามารถเอามาใช้ได้เช่นกัน มันคือช่องที่จะทำให้ผู้อ่านคิด ทำให้ผู้อ่านรู้สึกว่าตัวละครกำลังคิดขณะที่กำลังจะพูดประโยคถัดไปค่ะ คำผิดและคำวิบัติ ถึงจะมีบ้างแต่เรื่องนี้สามารถแก้ได้โดยการอ่านครั้งที่สองค่ะ เพราะฉะนั้นอันครีเช่ขอข้ามประเด็นนี้ไปเลยนะคะ ในส่วนของเนื้อเรื่อง พอจะเดาออกอยู่บ้างว่าเรื่องจะเป็นยังไงต่อไป แต่อย่างว่าล่ะค่ะ วรรณกรรมเป็นศิลปะที่อยู่กับมนุษย์มาเป็นเวลายาวนาน เพราะฉะนั้นมันไม่มีอะไรใหม่ในโลก เราอย่าไปคำนึงถึงมันมากว่ามันจะเก่า ลองเอาสมการณ์ คาแร็กเตอร์ + สถานการณ์ = คาแร็กเตอร์ไรซ์เซชั่น ไปใช้ดู การเล่าเรื่องที่เราสามารถเดาเนื้อเรื่องได้อยู่แล้ว แต่ถ้ามาเจอกับบิ๊กคาแร็กเตอร์หรือที่เคยบอกว่าคาแร็กเตอร์เจ๋งๆ แบบที่เราไม่สามารถพบได้ในคนอื่น ภูมิหลังทำให้เขาคิดแบบนี้ซึ่งวิธีคิดของเขาก็ต้องต่างจากคนอื่นเหมือนกัน เรื่องความเก่าและความครีเช่ก็จะไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไปค่ะ ที่ไรท์เตอร์ควรสังเกตอีกอย่างก็คือ ในเรื่องนี้ส่วนมากไรท์เตอร์ชอบใช้คำหรือบรรยายในสิ่งที่อ่านน่าจะรู้อยู่แล้ว หรืออาจจะบอกกันโต้งๆ เกินไป space ที่อันครีเช่หมายถึงนั้น ไม่ได้หมายถึงการเคาะสเปซบาร์เพื่อเว้นวรรค์เพียงอย่างเดียว แต่อยากให้ไรท์เตอร์เว้นสเปซ์ไว้ให้คนอ่านสำหรับคิดบ้าง การบอกอย่างชัดเจนเกินไปจะทำให้คนอ่านรู้สึกว่าผู้เขียนกำลังดูถูกความสามารถค่ะ (แต่ในส่วนนี้ก็ไม่ได้หมายความว่าให้ใช้คำที่กำกวมนะคะ) การเว้นสเปซให้คนอ่านคิดเองแล้ว นอกจากเราจะทำให้งานศิลปะของเรามีฟองอากาศสำหรับผู้อ่านแล้ว เรายังได้เวลาสำหรับคนอ่านอีกนะคะ ไม่ใช่เวลาที่หมายถึงชั่วโมงในการอ่าน การใช้เวลาในการอ่าน แต่มันหมายถึงระยะเวลาการรอคอยไม่ว่าคนอ่านจะอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เพื่ออ่านงานของไรท์เตอร์ และรอคอยจนกว่าจะถึงบทต่อไปซึ่งอาจจะอัพในอีกสามวันข้างหน้า การเว้นที่ว่างให้คนไปคิดเองนั้นจะทำให้เราได้เวลาของเขาเกือบจะยี่สิบสี่ชั่วโมงต่อวัน ที่ว่างที่เราเว้นไว้ให้คนอ่านคิดจะวนเวียนอยู่ในสมองของเขาเหมือนกับเราจะพยายามล่อแมวให้ไปกินคุกกี้ แมวไม่รู้ว่าคุกกี้อยู่ที่ไหน แต่แมวรู้ว่ามันต้องมีอยู่แน่ๆ เพราะมันได้กลิ่น การเปลี่ยนมุมมองของตัวละคร ไรท์เตอร์ใช้การแนะนำตัวโดยวิธีบอกว่าคนที่กำลังพูดอยู่นั้นเป็นใคร ซึ่งเป็นวิธีที่ครีเช่มากในระดับนึงค่ะ แต่อย่างที่บอกว่าวรรณกรรม นิยาย เป็นงานศิลปะชนิดนึง อันครีเช่เลยอยากให้ไรท์เตอร์พิถีพิถันในการเล่าเกี่ยวกับตัวละครมากกว่าจะบอกว่านี้เป็นใครค่ะ วิธีการบอกว่าตัวละครตัวนี้เป็นใครโดยการบอกว่า 'ฉันคือ... ผมชื่อ' มันไม่ผิดค่ะ ศิลปะไม่มีผิดไม่มีถูก มีแต่วิธีการที่เวิร์คกับไม่เวิร์คค่ะ วิธีที่เวิร์คอีกวิธีที่เคยเห็นในนิยายแนวนี้นั่นก็คือการบอกว่าพาร์ทนี้เป็นพาร์ทของใคร แต่...มันอาจจะกระด้างไปสักนิด อยากให้ไรท์เตอร์ดูเรื่องของคาแร็กเตอร์ค่ะ กลับมาเรื่องคาแร็กเตอร์อีกแล้ว...นี่คือส่วนที่สำคัญที่สุด เพราะตัวที่ทำให้เกิดเรื่องราวและทำให้เรื่องราวสนุกนั้นมันคือคาแร็กเตอร์ค่ะ เรากำลังอ่านเรื่องของใครอยู่...? อย่างที่เคยบอกไปแล้วว่าถ้าคาแร็กเตอร์ของไรท์เตอร์แน่นพอ บริบททางความคิด คำพูด การกระทำที่แสดงออกมานั้น เราจะรู้ได้ทันทีว่านี่เป็นเรื่องของใคร ถึงจะมีบอกไว้แล้วด้านบนว่านี่เป็น Bank's Part หรือ Bank's Side แต่การใช้คาแร็กเตอร์มาตอกย้ำจะทำให้คนดูเชื่อมากขึ้นว่านี่คือแบงก์จริงๆ บางครั้งบทสนทนาติดๆ กัน เราไม่จำเป็นต้องบรรยายด้วยซ้ำว่านี่ใครเป็นคนพูด เพราะถ้าคาแร็กเตอร์แน่น เราจะรู้ได้ทันทีว่า คำพูดนี้เป็นของใคร เพราะบุคลิกและคาแร็กเตอร์นั้น ไม่ใช่การกระทำที่เขาแสดงออกมาอย่างเดียว แต่รวมถึงคำพูดด้วยค่ะ เพิ่มเติม** ในบางช่วงไรท์เตอร์ลงรายละเอียดของเรื่องหนักและในบางช่วงก็แผ่วไป อยากให้ไรท์เตอร์ลองไปดูเรื่องความสมดุลของเนื้อเรื่องด้วยนะคะ เพิ่มเติม 2** ไรท์เตอร์สามารถเช็คเนื้อเรื่องของตัวเองว่าไปถูกทางแล้วหรือยัง เราจะดึงอารมณ์และกระชากอารมณ์ของคนดูได้ตอนไหนจาก Plot Point ค่ะ ซึ่งจะมีทั้งหมด 8 จุดด้วยกัน 1.ภาวะ Equilibrium : หรือภาวะปกติของตัวละครค่ะ ภาวะนี้จะเป็นภาวะที่เนื้อเรื่องดำเนินไปอย่างปกติ การใช้ชีวิตปกติของเขา 2.ภาวะ Inciting Incident : ภาวะนี้คือการเขวี้ยงก้อนหินลูกแรกลงไปค่ะ แต่การเขวี้ยงก้อนหินลูกนี้อาจจะทำให้ตัวละครนั้นสะเทือนอยู่บ้างแต่ก็ไม่ถึงกับไม่สามารถกลับมาเป็นเหมือนเดิมได้อีก 3.Turning Point : คือการโยนก้อนหินลูกใหญ่ตามก้อนหินลูกแรก ก้อนหินลูกนี้ก็เหมือนกับสถานการณ์ที่จะทำให้ตัวละครไม่สามารกลับมาเป็นเหมือนเดิมได้แล้ว สถานการณ์นี้ทำให้ตัวละครคิดว่าเขาต้องทำอะไรสักอย่างนึงเพื่อแก้ไขสถานการณ์นี้ (เป็นตอนที่จะตะโดนบิ๊กไอเดียหรือพรีมิสออกมาดังที่สุด เช่น Bigidea คือ จะเกิดอะไรขึ้นถ้าแวมไพร์กินเจ พรีมิสคือ : จะเกิดอะไรขึ้นถ้าผู้หญิงคนนึงไปรักกับแวมไพร์ซึ่งพวกเขาเป็นเผ่าพันธุ์ที่กินเจ : ทไวไลท์) 4.Rising Action : นั่นก็คือช่วงองค์สองของเรื่องค่ะ ช่วงนี้จะเป็นช่วงที่มีสถานการณ์ เหตุการณ์เข้ามาเรื่อยๆ และตัวละครจะต้องแก้มัน และในขณะที่เขาแก้และดูเหมือนว่าจะเป็นไปได้ด้วยดี แต่เขาก็กลับไปเจออีกปัญหานึงที่ตามเขามาติดๆ 5.Crisis : เมื่อตัวละครแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนเกือบจะสำเร็จแล้ว จู่ๆ ก็มีก้อนหินลูกที่สามซึ่งใหญ่กว่าลูกที่สามโยนลงมา 6.Falling Action : เป็นช่วงที่ตัวละครตกหน้าผาลงมาขาหัก เขาเสียใจจนจะฆ่าตัวตายแต่ในที่สุดเขาก็พบกับเคล็ดลับวิชา (เก็ทใช่มั้ยจ๊ะ) 7.Climax ช่วงนี้จะเป็นช่วงรองสุดท้ายของเรื่อง เป็นช่วงที่ตัวเอกเยียวยาแผลใจ เป็นช่วงที่ให้ตัวเอกคิด เป็นช่วงฝึกวิชาจนในที่สุดเขาก็สำเร็จวิชา (หรืออาจจะทำอะไรสำเร็จสักอย่าง) เขากลับมาแก้ปัญหาของเขาได้ในที่สุด (เป็น Last battle) ซึ่งตอนนี้เป็นจะตอนที่ตะโดนธีมของเรื่องออกมาดังมากที่สุด (ธีมก็คือ...นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ซึ่งธีมเราจะต้องคิดไว้ตั้งแต่แรกเพื่อให้เราควบคุมเนื้อเรื่องของเราให้ไปในทิศทางเดียวกันได้ค่ะ) 8.Resolution : นั่นก็คือตอนจบค่ะ ซึ่งส่วนนี้จะเป็นตอนสรุปของเนื้อเรื่องค่ะ คอมเมนท์รับในบทความด้วยนะคะ อันครีเช่จะได้รู้ว่าไรท์เตอร์ได้เข้ามาอ่านบทความวิจารณ์แล้ว และถ้ามีเวลา บอกถึงความรู้สึกหลังจากอ่านคำวิจารณ์สักนิดก็ดีค่ะ ขอบคุณมากที่ไว้ใจให้อันครีเช่วิจารณ์บทความของไรท์เตอร์นะคะ :]   อ่านน้อยลง

    UNCRECHE ♡ | 22 ธ.ค. 53

    • 9

    • 6

    ดูทั้งหมด

    คำนิยมล่าสุด

    "Arts of story telling"

    (แจ้งลบ)

    Blackmail วางแผนร้ายให้กลายเป็นรัก และพอเปิดมาอีกลิ้งค์อันครีเช่ก็พบว่า... นิยายอีกเรื่องเป็นนิยายเกย์อีกแล้วค่ะ =O=! มันกลายเป็นฌอง (ประเภท...ประมาณว่า เหมือนสไตล์ของคนนั้นอ่ะค่ะ) ของ You are all my dream. ไปแล้ว ค่ะ...สำหรับเรื่อง Blacmail วางแผนร้ายให้กลายเป็นรักของไรท์เตอร์นั้น ภาษากับเนื้อเรื่องดูต่างจากเรื่องก่อนมาก ความสละสลวยต้องยกให ... อ่านเพิ่มเติม

    Blackmail วางแผนร้ายให้กลายเป็นรัก และพอเปิดมาอีกลิ้งค์อันครีเช่ก็พบว่า... นิยายอีกเรื่องเป็นนิยายเกย์อีกแล้วค่ะ =O=! มันกลายเป็นฌอง (ประเภท...ประมาณว่า เหมือนสไตล์ของคนนั้นอ่ะค่ะ) ของ You are all my dream. ไปแล้ว ค่ะ...สำหรับเรื่อง Blacmail วางแผนร้ายให้กลายเป็นรักของไรท์เตอร์นั้น ภาษากับเนื้อเรื่องดูต่างจากเรื่องก่อนมาก ความสละสลวยต้องยกให้อีกเรื่องนึงเป็นที่หนึ่งไปเลยค่ะ แต่ว่า... โดยส่วนตัวแล้วอันครีเช่ชอบอ่านนิยาย บทความที่ภาษาง่ายๆ มากกว่า มันไม่จำเป็นต้องปรับโหมดในสมองมากเท่าไหร่ แต่อย่างว่าล่ะค่ะ งานเขียนก็เป็นศิลปะหนึ่งในเจ็ดแขนง ไม่ว่าจะเป็นงานเขียนที่ภาษาเลิศเลอเพอร์เฟ็ก หรือเป็นงานเขียนที่มีบทบรรยายน้อยนิด อีโมติค่อนน่ารักๆ แต่มันก็คือศิลปะเหมือนกัน ในส่วนนี้ไรท์เตอร์ขาดความสละสลวยของคำไปนิด ไม่ได้หมายถึงการบรรยายโดยใช้ภาษาสูงๆ นะคะ แต่การบรรยายแนวนี้ก็สามารถทำให้ภาษาที่อ่านอยู่สวยได้เหมือนกัน อยากให้ไรท์เตอร์ลองกลับไปอ่านบทความของตัวเองอีกครั้ง ออกเสียงดังๆ ก็ได้ ไรท์เตอร์จะรู้เลยล่ะค่ะว่าตรงไหนควรเพิ่มคำเข้าไป และตรงไหนควรลดคำลงบ้าง Space เป็นสิ่งสำคัญมากไม่ว่าจะเป็นงานศิลปะชนิดไหนๆ ตั้งแต่ศิลปะแขนงแรกนั้นก็คือนาฏศิลป์ไปจนถึงแขนงที่เจ็ดนั่นก็คือภาพยนตร์ และวรรณกรรมก็ต้องการเช่นเดียวกันค่ะ ไรท์เตอร์ต้องเว้นจังหวะจะโคนในการเขียนให้ดี เราต้องรู้ว่าตรงไหนเราควรเว้นวรรคและตรงไหนเราควรปล่อยให้มันติดกัน การใช้ '...' ก็สามารถเอามาใช้ได้เช่นกัน มันคือช่องที่จะทำให้ผู้อ่านคิด ทำให้ผู้อ่านรู้สึกว่าตัวละครกำลังคิดขณะที่กำลังจะพูดประโยคถัดไปค่ะ คำผิดและคำวิบัติ ถึงจะมีบ้างแต่เรื่องนี้สามารถแก้ได้โดยการอ่านครั้งที่สองค่ะ เพราะฉะนั้นอันครีเช่ขอข้ามประเด็นนี้ไปเลยนะคะ ในส่วนของเนื้อเรื่อง พอจะเดาออกอยู่บ้างว่าเรื่องจะเป็นยังไงต่อไป แต่อย่างว่าล่ะค่ะ วรรณกรรมเป็นศิลปะที่อยู่กับมนุษย์มาเป็นเวลายาวนาน เพราะฉะนั้นมันไม่มีอะไรใหม่ในโลก เราอย่าไปคำนึงถึงมันมากว่ามันจะเก่า ลองเอาสมการณ์ คาแร็กเตอร์ + สถานการณ์ = คาแร็กเตอร์ไรซ์เซชั่น ไปใช้ดู การเล่าเรื่องที่เราสามารถเดาเนื้อเรื่องได้อยู่แล้ว แต่ถ้ามาเจอกับบิ๊กคาแร็กเตอร์หรือที่เคยบอกว่าคาแร็กเตอร์เจ๋งๆ แบบที่เราไม่สามารถพบได้ในคนอื่น ภูมิหลังทำให้เขาคิดแบบนี้ซึ่งวิธีคิดของเขาก็ต้องต่างจากคนอื่นเหมือนกัน เรื่องความเก่าและความครีเช่ก็จะไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไปค่ะ ที่ไรท์เตอร์ควรสังเกตอีกอย่างก็คือ ในเรื่องนี้ส่วนมากไรท์เตอร์ชอบใช้คำหรือบรรยายในสิ่งที่อ่านน่าจะรู้อยู่แล้ว หรืออาจจะบอกกันโต้งๆ เกินไป space ที่อันครีเช่หมายถึงนั้น ไม่ได้หมายถึงการเคาะสเปซบาร์เพื่อเว้นวรรค์เพียงอย่างเดียว แต่อยากให้ไรท์เตอร์เว้นสเปซ์ไว้ให้คนอ่านสำหรับคิดบ้าง การบอกอย่างชัดเจนเกินไปจะทำให้คนอ่านรู้สึกว่าผู้เขียนกำลังดูถูกความสามารถค่ะ (แต่ในส่วนนี้ก็ไม่ได้หมายความว่าให้ใช้คำที่กำกวมนะคะ) การเว้นสเปซให้คนอ่านคิดเองแล้ว นอกจากเราจะทำให้งานศิลปะของเรามีฟองอากาศสำหรับผู้อ่านแล้ว เรายังได้เวลาสำหรับคนอ่านอีกนะคะ ไม่ใช่เวลาที่หมายถึงชั่วโมงในการอ่าน การใช้เวลาในการอ่าน แต่มันหมายถึงระยะเวลาการรอคอยไม่ว่าคนอ่านจะอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เพื่ออ่านงานของไรท์เตอร์ และรอคอยจนกว่าจะถึงบทต่อไปซึ่งอาจจะอัพในอีกสามวันข้างหน้า การเว้นที่ว่างให้คนไปคิดเองนั้นจะทำให้เราได้เวลาของเขาเกือบจะยี่สิบสี่ชั่วโมงต่อวัน ที่ว่างที่เราเว้นไว้ให้คนอ่านคิดจะวนเวียนอยู่ในสมองของเขาเหมือนกับเราจะพยายามล่อแมวให้ไปกินคุกกี้ แมวไม่รู้ว่าคุกกี้อยู่ที่ไหน แต่แมวรู้ว่ามันต้องมีอยู่แน่ๆ เพราะมันได้กลิ่น การเปลี่ยนมุมมองของตัวละคร ไรท์เตอร์ใช้การแนะนำตัวโดยวิธีบอกว่าคนที่กำลังพูดอยู่นั้นเป็นใคร ซึ่งเป็นวิธีที่ครีเช่มากในระดับนึงค่ะ แต่อย่างที่บอกว่าวรรณกรรม นิยาย เป็นงานศิลปะชนิดนึง อันครีเช่เลยอยากให้ไรท์เตอร์พิถีพิถันในการเล่าเกี่ยวกับตัวละครมากกว่าจะบอกว่านี้เป็นใครค่ะ วิธีการบอกว่าตัวละครตัวนี้เป็นใครโดยการบอกว่า 'ฉันคือ... ผมชื่อ' มันไม่ผิดค่ะ ศิลปะไม่มีผิดไม่มีถูก มีแต่วิธีการที่เวิร์คกับไม่เวิร์คค่ะ วิธีที่เวิร์คอีกวิธีที่เคยเห็นในนิยายแนวนี้นั่นก็คือการบอกว่าพาร์ทนี้เป็นพาร์ทของใคร แต่...มันอาจจะกระด้างไปสักนิด อยากให้ไรท์เตอร์ดูเรื่องของคาแร็กเตอร์ค่ะ กลับมาเรื่องคาแร็กเตอร์อีกแล้ว...นี่คือส่วนที่สำคัญที่สุด เพราะตัวที่ทำให้เกิดเรื่องราวและทำให้เรื่องราวสนุกนั้นมันคือคาแร็กเตอร์ค่ะ เรากำลังอ่านเรื่องของใครอยู่...? อย่างที่เคยบอกไปแล้วว่าถ้าคาแร็กเตอร์ของไรท์เตอร์แน่นพอ บริบททางความคิด คำพูด การกระทำที่แสดงออกมานั้น เราจะรู้ได้ทันทีว่านี่เป็นเรื่องของใคร ถึงจะมีบอกไว้แล้วด้านบนว่านี่เป็น Bank's Part หรือ Bank's Side แต่การใช้คาแร็กเตอร์มาตอกย้ำจะทำให้คนดูเชื่อมากขึ้นว่านี่คือแบงก์จริงๆ บางครั้งบทสนทนาติดๆ กัน เราไม่จำเป็นต้องบรรยายด้วยซ้ำว่านี่ใครเป็นคนพูด เพราะถ้าคาแร็กเตอร์แน่น เราจะรู้ได้ทันทีว่า คำพูดนี้เป็นของใคร เพราะบุคลิกและคาแร็กเตอร์นั้น ไม่ใช่การกระทำที่เขาแสดงออกมาอย่างเดียว แต่รวมถึงคำพูดด้วยค่ะ เพิ่มเติม** ในบางช่วงไรท์เตอร์ลงรายละเอียดของเรื่องหนักและในบางช่วงก็แผ่วไป อยากให้ไรท์เตอร์ลองไปดูเรื่องความสมดุลของเนื้อเรื่องด้วยนะคะ เพิ่มเติม 2** ไรท์เตอร์สามารถเช็คเนื้อเรื่องของตัวเองว่าไปถูกทางแล้วหรือยัง เราจะดึงอารมณ์และกระชากอารมณ์ของคนดูได้ตอนไหนจาก Plot Point ค่ะ ซึ่งจะมีทั้งหมด 8 จุดด้วยกัน 1.ภาวะ Equilibrium : หรือภาวะปกติของตัวละครค่ะ ภาวะนี้จะเป็นภาวะที่เนื้อเรื่องดำเนินไปอย่างปกติ การใช้ชีวิตปกติของเขา 2.ภาวะ Inciting Incident : ภาวะนี้คือการเขวี้ยงก้อนหินลูกแรกลงไปค่ะ แต่การเขวี้ยงก้อนหินลูกนี้อาจจะทำให้ตัวละครนั้นสะเทือนอยู่บ้างแต่ก็ไม่ถึงกับไม่สามารถกลับมาเป็นเหมือนเดิมได้อีก 3.Turning Point : คือการโยนก้อนหินลูกใหญ่ตามก้อนหินลูกแรก ก้อนหินลูกนี้ก็เหมือนกับสถานการณ์ที่จะทำให้ตัวละครไม่สามารกลับมาเป็นเหมือนเดิมได้แล้ว สถานการณ์นี้ทำให้ตัวละครคิดว่าเขาต้องทำอะไรสักอย่างนึงเพื่อแก้ไขสถานการณ์นี้ (เป็นตอนที่จะตะโดนบิ๊กไอเดียหรือพรีมิสออกมาดังที่สุด เช่น Bigidea คือ จะเกิดอะไรขึ้นถ้าแวมไพร์กินเจ พรีมิสคือ : จะเกิดอะไรขึ้นถ้าผู้หญิงคนนึงไปรักกับแวมไพร์ซึ่งพวกเขาเป็นเผ่าพันธุ์ที่กินเจ : ทไวไลท์) 4.Rising Action : นั่นก็คือช่วงองค์สองของเรื่องค่ะ ช่วงนี้จะเป็นช่วงที่มีสถานการณ์ เหตุการณ์เข้ามาเรื่อยๆ และตัวละครจะต้องแก้มัน และในขณะที่เขาแก้และดูเหมือนว่าจะเป็นไปได้ด้วยดี แต่เขาก็กลับไปเจออีกปัญหานึงที่ตามเขามาติดๆ 5.Crisis : เมื่อตัวละครแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนเกือบจะสำเร็จแล้ว จู่ๆ ก็มีก้อนหินลูกที่สามซึ่งใหญ่กว่าลูกที่สามโยนลงมา 6.Falling Action : เป็นช่วงที่ตัวละครตกหน้าผาลงมาขาหัก เขาเสียใจจนจะฆ่าตัวตายแต่ในที่สุดเขาก็พบกับเคล็ดลับวิชา (เก็ทใช่มั้ยจ๊ะ) 7.Climax ช่วงนี้จะเป็นช่วงรองสุดท้ายของเรื่อง เป็นช่วงที่ตัวเอกเยียวยาแผลใจ เป็นช่วงที่ให้ตัวเอกคิด เป็นช่วงฝึกวิชาจนในที่สุดเขาก็สำเร็จวิชา (หรืออาจจะทำอะไรสำเร็จสักอย่าง) เขากลับมาแก้ปัญหาของเขาได้ในที่สุด (เป็น Last battle) ซึ่งตอนนี้เป็นจะตอนที่ตะโดนธีมของเรื่องออกมาดังมากที่สุด (ธีมก็คือ...นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ซึ่งธีมเราจะต้องคิดไว้ตั้งแต่แรกเพื่อให้เราควบคุมเนื้อเรื่องของเราให้ไปในทิศทางเดียวกันได้ค่ะ) 8.Resolution : นั่นก็คือตอนจบค่ะ ซึ่งส่วนนี้จะเป็นตอนสรุปของเนื้อเรื่องค่ะ คอมเมนท์รับในบทความด้วยนะคะ อันครีเช่จะได้รู้ว่าไรท์เตอร์ได้เข้ามาอ่านบทความวิจารณ์แล้ว และถ้ามีเวลา บอกถึงความรู้สึกหลังจากอ่านคำวิจารณ์สักนิดก็ดีค่ะ ขอบคุณมากที่ไว้ใจให้อันครีเช่วิจารณ์บทความของไรท์เตอร์นะคะ :]   อ่านน้อยลง

    UNCRECHE ♡ | 22 ธ.ค. 53

    • 9

    • 6

    "นิยาย"

    (แจ้งลบ)

    เป็นนิยายที่ดีนะ ชอบเพราะเนื้อเรื่องดูแบดๆ แต่น่ารัก แต่งได้แมทช์กันดี แต่จะมีคำวิบัติอยู่เยอะพอสมควรนะ ที่จริงจะเขียนภาษาวิบัติก็ได้อยู่หรอกเพื่อความทันสมัยอ่ะนะ แต่พอดีเราชอบภาษาไทยที่สละสลวย อิๆ แต่เราก็เขียนวิบัติเหมือนกันนะ ยังไงก็ลดภาษาวิบัตินิดนะครับ ยังไงๆ เราก็ชอบนิยายของคุณนะ แต่งต่อไปล่ะครับ อ่านเพิ่มเติม

    เป็นนิยายที่ดีนะ ชอบเพราะเนื้อเรื่องดูแบดๆ แต่น่ารัก แต่งได้แมทช์กันดี แต่จะมีคำวิบัติอยู่เยอะพอสมควรนะ ที่จริงจะเขียนภาษาวิบัติก็ได้อยู่หรอกเพื่อความทันสมัยอ่ะนะ แต่พอดีเราชอบภาษาไทยที่สละสลวย อิๆ แต่เราก็เขียนวิบัติเหมือนกันนะ ยังไงก็ลดภาษาวิบัตินิดนะครับ ยังไงๆ เราก็ชอบนิยายของคุณนะ แต่งต่อไปล่ะครับ  

    ~D_P_R~ | 17 ธ.ค. 53

    • 46

    • 0

    ดูทั้งหมด

    ความคิดเห็น