ขั้นตอนการพ่น Graffity - ขั้นตอนการพ่น Graffity นิยาย ขั้นตอนการพ่น Graffity : Dek-D.com - Writer

    ขั้นตอนการพ่น Graffity

    ขั้นตอนการพ่น Graffity

    ผู้เข้าชมรวม

    2,421

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    1

    ผู้เข้าชมรวม


    2.42K

    ความคิดเห็น


    7

    คนติดตาม


    2
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  8 ส.ค. 49 / 20:06 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

      ขั้นตอนการพ่น Graffity]

      ]

      มี 7 วิธี คือ....


      [1] เริ่มแรกเราก็ต้องวาดภาพสเก็ตให้เป็นแบบที่ตัวเองถนัดซะก่อน   และในกรณีที่พ่นหมึกครั้งแรก  ก็ไม่ควรจะออกแบบให้ยาก  และซับซ้อนจนเกินไป เพราะงานชิ้นแรกอาจจะออกมาไม่สวยอบ่างที่คิดไว้ แต่ขอให้-อย่าท้อ  เพราะไม่มีใครที่พ่นครั้งแรกแล้วสวยทันที
      
      [2] หาSPECสีที่จะใช้เลือกสียี่ห้อที่ถนัด (แนะนำ LAYLAND, FOX-D,TOA, WIN หรือแล้วแต่ชอบ) [3] หาสถานที่ๆคิดว่าพ่นแล้วไม่สร้างความลำบากใจตนเอง และคนรอบข้าง หาสถานที่ๆคิดว่าพ่นแล้วไม่สร้างความลำบากใจตนเอง และคนรอบข้าง (เจ้าของสถานที่) ถ้ากำแพงที่หาได้นั้น เป็นกำแพงปูน-ธรรมดาที่ไม่ได้ทาสี ควรนำสีมากลิ้งเป็นลองพื้นไว้ก่อน ไม่งั้นกำแพงจะดูดสี แต่ถ้าไม่มีลูกกลิ้ง ขอแนะนำให้ใช้สีสเปรย์สีเงินและดำ เพราะสีเงินมีคุณสมบัติที่สามารถพ่นได้บนกำแพงเกือบจะทุกพื้นผิว
      [4] เริ่มพ่น หาสีที่คิดว่าจะเอามาเป็น Outline ในการร่างแบบและเริ่มร่างลงบนกำแพงตามแบบที่เราร่างเอาไว้ถ้าเกิดร่างผิด ก็ไม่ต้องตกใจ เพราะสีสเปรย์ส่วนใหญ่สามารถลบได้ด้วยการพ่นทับควรคำนึงถึงการสมดุลกันของตัวหนังสือหรือ Character ที่จะพ่น เพราะท่า Outline เบี้ยวงานก็จะเบี้ยวตาม
      [5] ลง Fill in ลงตามแบบที่แต่ละคนถนัดขั้นตอนนี้ ขึ้นอยู่กับความ-สามารถและความชอบของแต่ละคน ไม่มีข้อกำหนดตายตัว [6] ลงมิติ
      เริ่มพ่น หาสีที่คิดว่าจะเอามาเป็น Outline ในการร่างแบบและเริ่มร่างลงบนกำแพงตามแบบที่เราร่างเอาไว้ถ้าเกิดร่างผิด ก็ไม่ต้องตกใจ เพราะสีสเปรย์ส่วนใหญ่สามารถลบได้ด้วยการพ่นทับควรคำนึงถึงการสมดุลกันของตัวหนังสือหรือ Character ที่จะพ่น เพราะท่า Outline เบี้ยวงานก็จะเบี้ยวตาม
      [5] ลง Fill in ลงตามแบบที่แต่ละคนถนัดขั้นตอนนี้ ขึ้นอยู่กับความ-สามารถและความชอบของแต่ละคน ไม่มีข้อกำหนดตายตัว [6] ลงมิติ (สำหรับแบบที่มีมิติ) ขึ้นอยู่กับสไตล์ของแต่ละคน อาจจะเป็นสีทึบทั้งหมด หรือไล่เงาแล้วแต่ชอบ
      [7] ลง Outline รอบตัวหนังสือหาสีที่ทำให้งานดูเด่นขึ้นจะทำหรือไม่ทำขึ้นอยู่กับความชอบส่วนตัว
      ลง Outline รอบตัวหนังสือหาสีที่ทำให้งานดูเด่นขึ้นจะทำหรือไม่ทำขึ้นอยู่กับความชอบส่วนตัว
      ขั้นตอนทั้งหมดนี้เป็นแค่ขั้นตอนคร่าวๆ เพราะไม่มีกฎตายตัวที่จะทำให้ทุกคนมาทำตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ แต่ขึ้นอยู่กับความสามารถเฉพาะตัว ความชอบและความชำนาญ ถ้ายิ่งพ่นบ่อยงานก็จะดีขึ้นไปเรื่อยๆ และเราสามารถ เรียนรู้ได้จากความผิดพลาดที่เกิดขึ้น จากงานก่อนๆ ลองพ่นบ่อยๆ แล้วจะเกิดเทคนิคใหม่ขึ้นมาเอง ระหว่างการพ่น ควรถอยออกมา 2-3 ก้าว เพื่อเช็คระยะความสมดุลของงาน เพราะตอนที่เราพ่นอยู่นั้นเราอยู่ใกล้งานจนไม่สามารถ มองเห็นภาพรวมจากระยะใกลได้(คนส่วนมากมักดูงานจากระยะใกล เช่น คนที่ขับรถผ่าน) ที่สำคัญไม่ควรพ่นทับ
      เริ่มแรกเราก็ต้องวาดภาพสเก็ตให้เป็นแบบที่ตัวเองถนัดซะก่อน และในกรณีที่พ่นหมึกครั้งแรก ก็ไม่ควรจะออกแบบให้ยาก และซับซ้อนจนเกินไป เพราะงานชิ้นแรกอาจจะออกมาไม่สวยอบ่างที่คิดไว้ แต่ขอให้-อย่าท้อ เพราะไม่มีใครที่พ่นครั้งแรกแล้วสวยทันที
      [2] หาSPECสีที่จะใช้เลือกสียี่ห้อที่ถนัด (แนะนำ LAYLAND, FOX-D,TOA, WIN หรือแล้วแต่ชอบ) [3] หาสถานที่ๆคิดว่าพ่นแล้วไม่สร้างความลำบากใจตนเอง และคนรอบข้าง หาสถานที่ๆคิดว่าพ่นแล้วไม่สร้างความลำบากใจตนเอง และคนรอบข้าง (เจ้าของสถานที่) ถ้ากำแพงที่หาได้นั้น เป็นกำแพงปูน-ธรรมดาที่ไม่ได้ทาสี ควรนำสีมากลิ้งเป็นลองพื้นไว้ก่อน ไม่งั้นกำแพงจะดูดสี แต่ถ้าไม่มีลูกกลิ้ง ขอแนะนำให้ใช้สีสเปรย์สีเงินและดำ เพราะสีเงินมีคุณสมบัติที่สามารถพ่นได้บนกำแพงเกือบจะทุกพื้นผิว
      [4] เริ่มพ่น หาสีที่คิดว่าจะเอามาเป็น Outline ในการร่างแบบและเริ่มร่างลงบนกำแพงตามแบบที่เราร่างเอาไว้ถ้าเกิดร่างผิด ก็ไม่ต้องตกใจ เพราะสีสเปรย์ส่วนใหญ่สามารถลบได้ด้วยการพ่นทับควรคำนึงถึงการสมดุลกันของตัวหนังสือหรือ Character ที่จะพ่น เพราะท่า Outline เบี้ยวงานก็จะเบี้ยวตาม
      [5] ลง Fill in ลงตามแบบที่แต่ละคนถนัดขั้นตอนนี้ ขึ้นอยู่กับความ-สามารถและความชอบของแต่ละคน ไม่มีข้อกำหนดตายตัว [6] ลงมิติ
      เริ่มพ่น หาสีที่คิดว่าจะเอามาเป็น Outline ในการร่างแบบและเริ่มร่างลงบนกำแพงตามแบบที่เราร่างเอาไว้ถ้าเกิดร่างผิด ก็ไม่ต้องตกใจ เพราะสีสเปรย์ส่วนใหญ่สามารถลบได้ด้วยการพ่นทับควรคำนึงถึงการสมดุลกันของตัวหนังสือหรือ Character ที่จะพ่น เพราะท่า Outline เบี้ยวงานก็จะเบี้ยวตาม
      [5] ลง Fill in ลงตามแบบที่แต่ละคนถนัดขั้นตอนนี้ ขึ้นอยู่กับความ-สามารถและความชอบของแต่ละคน ไม่มีข้อกำหนดตายตัว [6] ลงมิติ (สำหรับแบบที่มีมิติ) ขึ้นอยู่กับสไตล์ของแต่ละคน อาจจะเป็นสีทึบทั้งหมด หรือไล่เงาแล้วแต่ชอบ
      [7] ลง Outline รอบตัวหนังสือหาสีที่ทำให้งานดูเด่นขึ้นจะทำหรือไม่ทำขึ้นอยู่กับความชอบส่วนตัว
      ลง Outline รอบตัวหนังสือหาสีที่ทำให้งานดูเด่นขึ้นจะทำหรือไม่ทำขึ้นอยู่กับความชอบส่วนตัว
      ขั้นตอนทั้งหมดนี้เป็นแค่ขั้นตอนคร่าวๆ เพราะไม่มีกฎตายตัวที่จะทำให้ทุกคนมาทำตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ แต่ขึ้นอยู่กับความสามารถเฉพาะตัว ความชอบและความชำนาญ ถ้ายิ่งพ่นบ่อยงานก็จะดีขึ้นไปเรื่อยๆ และเราสามารถ เรียนรู้ได้จากความผิดพลาดที่เกิดขึ้น จากงานก่อนๆ ลองพ่นบ่อยๆ แล้วจะเกิดเทคนิคใหม่ขึ้นมาเอง ระหว่างการพ่น ควรถอยออกมา 2-3 ก้าว เพื่อเช็คระยะความสมดุลของงาน เพราะตอนที่เราพ่นอยู่นั้นเราอยู่ใกล้งานจนไม่สามารถ มองเห็นภาพรวมจากระยะใกลได้(คนส่วนมากมักดูงานจากระยะใกล เช่น คนที่ขับรถผ่าน) ที่สำคัญไม่ควรพ่นทับ

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×