ลำดับตอนที่ #11
ตั้งค่าการอ่าน
ค่าเริ่มต้น
- เลื่อนอัตโนมัติ
- ฟอนต์ THSarabunNew
- ฟอนต์ Sarabun
- ฟอนต์ Mali
- ฟอนต์ Trirong
- ฟอนต์ Maitree
- ฟอนต์ Taviraj
- ฟอนต์ Kodchasan
- ฟอนต์ ChakraPetch
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #11 : อนุกรมอนันต์ ( Infinite Series )
หัวข้อนี้จะศึกษาผลบวกที่มีพจน์เป็นจำนวนมากนับไม่ถ้วน ตัวอย่างของผลบวกที่คุ้นเคยกันมาก เกิดขึ้นในการแทนจำนวนจริงด้วยทศนิยม
เช่น เมื่อเขียน
ในรูปทศนิยม
นั้นหมายถึง

แสดงว่าการแทน
ด้วย ทศนิยม อาจจะพิจารณาเป็นผลบวกของจำนวนจริงหลายจำนวนนับไม่ถ้วน
ผลบวกของอนุกรมอนันต์
ในการนิยามความหมายของผลบวกของจำนวนจริงหลายจำนวนนับไม่ถ้วน จะเริ่มจากนิยามของอนุกรมอนันต์ก่อน ดังนี้
เนื่องจากเราไม่สามารถบวกจำนวนที่นับไม่ถ้วนเข้าด้วยกันได้ ดังนั้นจึงต้องนิยามผลบวกของอนุกรมและ คำนวณค่าโดยใช้ลิมิต
เพื่อขยายผลจากแนวคิดพื้นฐาน จะพิจารณาทศนิยม
ซึ่งสามารถเขียนเป็นอนุกรม
หรือ
____________ (1)
เนื่องจาก
ดังนั้น ผลบวกของอนุกรม (1) ควรจะเป็น
การหาผลบวกของอนุกรมทำได้โดยการพิจารณาลำดับของผลบวก ดังนี้




..............................................................................
ลำดับ
สามารถใช้เป็นการประมาณ ผลบวกของอนุกรมได้ ในลำดับของผลบวกดังกล่าว
จะมีการใช้พจน์ของอนุกรมมากขึ้น และการประมาณค่าจะดีขึ้นตามลำดับ
และลิมิตของลำดับ ควรเป็น 
เพื่อให้เห็นว่าลิมิตเป็น
จริง จะต้องคำนวณลิมิตของพจน์ทั่วไปในลำดับที่ใช้ประมาณค่า ในที่นี้พจน์ทั่วไปคือ
________ (2)
การหา
ค่อนข้างยุ่งยาก เพราะทั้งพจน์สุดท้ายและจำนวนพจน์เปลี่ยนตามค่า
จึงต้องพยามยามเขียนลิมิตให้อยู่ในรูปที่พจน์ไม่แปรค่า ดังนี้
คูณ (2) ด้วย
จะได้
________ (3)
นำ (3) ลบออกจาก (2) จะได้
หรือ 
เนื่องจาก
เมื่อ
จึงได้

ซึ่งอาจจะแทนด้วยการเขียน

จากตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้น จะนิยามแนวคิดของผลบวกของอนุกรม
ได้ดังนี้ ให้
แทนผลบวกของ
พจน์แรกของอนุกรม



.................................

เรียก
ว่า ผลบวกย่อยที่
ของอนุกรม และ เรียก
ว่า ลำดับของผลบวกย่อย เมื่อ
มีค่าเพิ่มขึ้น ผลบวกย่อย
จะรวมพจน์ของอนุกรมมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น ถ้า
มีค่าเข้าใกล้ลิมิตค่าหนึ่ง ขณะที่
ค่าลิมิตนั้นจะเป็นผลบวกของทุกพจน์ในอนุกรมนั้น เขียนเป็นนิยามได้ดังนี้
ตัวอย่าง 1 จงแสดงว่า
เป็นอนุกรมลู่เข้า พร้อมทั้งหาผลบวกของอนุกรม
วิธีทำ เนื่องจาก
จะได้



ดังนั้น



และ
ดังนั้น
เป็นลำดับลู่เข้า นั้นคือ
เป็นอนุกรมที่ลู่เข้า และมีผลบวกเป็น 1
ต่อไปจะขอเขียนแทนอนุกรมอนันต์ด้วย
ซึ่งจะมีทฤษฎีบทที่สำคัญ ดังนี้
เช่น เมื่อเขียน



แสดงว่าการแทน

ผลบวกของอนุกรมอนันต์
ในการนิยามความหมายของผลบวกของจำนวนจริงหลายจำนวนนับไม่ถ้วน จะเริ่มจากนิยามของอนุกรมอนันต์ก่อน ดังนี้
นิยาม 2.1.1 อนุกรมอนันต์ คือ นิพจน์ ( expression ) ที่อยู่ในรูป
หรือ เขียนในสัญลักษณ์ ได้เป็น

เรียกจำนวน
ว่า พจน์ของอนุกรม และต่อไปจะใช้คำว่า อนุกรม แทนคำว่า อนุกรมอนันต์


เรียกจำนวน

เนื่องจากเราไม่สามารถบวกจำนวนที่นับไม่ถ้วนเข้าด้วยกันได้ ดังนั้นจึงต้องนิยามผลบวกของอนุกรมและ คำนวณค่าโดยใช้ลิมิต
เพื่อขยายผลจากแนวคิดพื้นฐาน จะพิจารณาทศนิยม



เนื่องจาก






..............................................................................
ลำดับ


เพื่อให้เห็นว่าลิมิตเป็น


การหา
![\displaystyle{\lim_{n \rightarrow \infty} S_n = \lim_{n \rightarrow \infty} \left[ \frac{3}{10}+\frac{3}{10^2}+\frac{3}{10^3}+\frac{3}{10^4} + \ldots \frac{3}{10^n}\right]} \displaystyle{\lim_{n \rightarrow \infty} S_n = \lim_{n \rightarrow \infty} \left[ \frac{3}{10}+\frac{3}{10^2}+\frac{3}{10^3}+\frac{3}{10^4} + \ldots \frac{3}{10^n}\right]}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures/4a58b0433ef2bf8dd5f9323dcd034228.gif)

คูณ (2) ด้วย


นำ (3) ลบออกจาก (2) จะได้


เนื่องจาก



ซึ่งอาจจะแทนด้วยการเขียน

จากตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้น จะนิยามแนวคิดของผลบวกของอนุกรม






.................................

เรียก







นิยาม 2.1.2 ให้
เป็นลำดับของผลบวกย่อยของอนุกรม
ถ้าลำดับ
ลู่เข้าสู่ลิมิต
แล้วจะเรียกอนุกรมนี้ว่า อนุกรมลู่เข้า และเรียก
ว่า ผลบวกของอนุกรม เขียนแทนด้วย
ถ้าลำดับของผลบวกย่อยลู่ออกแล้ว จะเรียกอนุกรมนี้ว่า อนุกรมลู่ออก และไม่มีผลบวก






ตัวอย่าง 1 จงแสดงว่า

วิธีทำ เนื่องจาก




ดังนั้น



และ



ต่อไปจะขอเขียนแทนอนุกรมอนันต์ด้วย

ทฤษฎีบท 2.1.3 ถ้า
เป็นอนุกรมลู่เข้าแล้วจะได้ว่า 


ทฤษฎีบท 2.1.4 ถ้า
แล้ว จะได้ว่า
เป็นอนุกรมลู่ออก


ทฤษฎีบท 2.1.5 ถ้า
และ
เป็นอนุกรมสองอนุกรมซึ่งมีความแตกต่างกัน เฉพาะ
พจน์แรก แล้ว จะได้ว่า
และ
เป็นอนุกรมลู่เข้าทั้งคู่ หรือ อนุกรมลู่ออกทั้งคู่





ผู้เขียน: ดร. ธีรเดช เจียรสุขสกุล
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
กำลังโหลด...
ความคิดเห็น