คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #142 : [Off.] Yukata (ยุคะตะ)
ゆかた
『ゆかた』は、肌ざわりの良い木綿地でつくられた『きもの』の一 種です。主として紺や白地で、柄としても単純な伝統的な模様が使われることが多く、男女ともに、夏のふだん着として素肌にじかに 着ます。帯も簡単な半幅帯や兵児帯をしめます。
ゆかたが映えるのは、何といっても夏の夕方から夜にかけて、野外で行われるレクリエーションに出かけるときでしょう。夏祭りなど のさまざまな露店をめぐったり、花火大会で夜空を彩る花火を観賞したり、盆踊りの輪に加わったりするには、男女とも『ゆかた姿』 が一番似合います。
ACTIVITY
《ゆかたの着方》
■用意するもの:ゆかた、帯、腰ひも2本、下駄、全身が写せる鏡。
1.ゆかたの袖に手を通して、左右の衿先のあたりを両手でそれぞれしっかり持って、斜め前に引っぱりながら、ゆかたの後ろの裾の ラインが両足の『くるぶし』のあたりにくるように『女』を調節します。
2. 両手で拾先を引っぱったまま、試しに左身頃の衿下の縦のラインが体の右側のラインと一致するように、ゆかたの左右の位置をきめる動作をしてから、右身頃の衿先を左の腰の位置に当て『余った 部分は折り返します』、 つづいて左身頃の秒先をさきにきめた右の腰の位置に持っていきます。
3.右身頃の裾と、その上に重ねられた左身頃の裾のラインが一致するように、丈を微調整しながら、腰骨の少し上、ウエストの部分で、腰ひもをしっかりと締めます。これで着丈がきまります。つぎに、腰ひもより上の部分のたるみを整え、その上からもう1本の腰ひも を軽く締めます。
4. 帯の端を左手で持ち、そのまま左わきにはさみ、帯を後ろから右前に回すようにして胴を2周するように巻きつけます。
5. 帯の短い端と長い端を胴の中央で合わせ、短い端を50cmくらいの長さに調節し、長い端を胴から60cm くらいのところで内側に折り返し、両端の長さをきめます。
6.短い端を半分の幅に折り、長い端を右手に持って短い端を上から巻き込むようにして結び、前にたらします。このとき、短い端はUの字に2つ折りした形になっていなければなりません。
7.長い端を内側に斜めに折り返し、先端を右側にのぞかせます。
8.短い端を長い端でつくった輪の中を通して左上へ引き上げます。
9.鏡で形を整えてから、お腹をへこませるようにして、右手で帯を引きながら半回転させ、結び目が真後ろにくるようにします。このような帯の結び方を『貝の口結び』といいます。 10.外出するときは素足に下駄をはきます。
Q&A
1. |
Q :: |
ゆかたはどんな店で買うことができますか。 |
A :: |
呉服屋や百貨店の呉服売場で買うことができます。比較的簡単に縫うことができる着物なので、身近に指導してくれる人がいれば、自分で縫うことができるでしょう。 |
|
2. |
Q :: |
ゆかたは夏だけ着るのですか。 |
A :: |
外出するとき着るのは夏だけですが、ゆかたを『寝まき』として四季を通じて愛用している人も少なくありません。多くの日本旅 館では、泊り客がくつろげるように、ゆかたを用意しています。 また、日本のホテルで、寝まきとしてゆかたを用意しているところが少なくありません。 |
|
3. |
Q :: |
ゆかたを着て外出するときは、どんな履き物がふさわしいのですか。 |
A :: |
ゆかたを着て外出するのは夏に限られますから、素足で下駄をはきます。 |
|
4. |
Q :: |
帯の結び方にはいろいろあるのですか。 |
A :: |
“ACTIVITY”で紹介したのは、結び目の形から『貝の口結び』とよばれる結び方です。男性でもこのような結び方をすることから、『男結び』ともよばれます。呉服屋には,結び目を別につくって、巻いた帯に取りつける形のセットになった既製の帯も売られています。若い女性が好んで結ぶ『蝶結び』の仕方を紹介しておきましょう。 1)帯をしっかりと 2回、胴に巻きつけるところまでは『貝の口結び』のときと同じです。 2)短い端で長い端を上から巻き込むようにして結びます。 3)上に出た短い端を半分の幅に折ります。 4)長い端を胴の横幅の長さに何回か折りたたみ、胴の中央に蝶の羽根の部分をつくります。 5)蝶の羽根の中央をつまんで、ひだをつくります。 6)短い端で蝶の羽根と最初の結び目をいっしょに1、2回上から巻き込みます。 7)余った先端部を胴に巻いた帯の内側へ入れて始末します。 8)蝶結びの形を整えてから、結び目が真後ろにくるように帯を体にそってまわします。 |
ชุดยุคะตะ
ยุคะตะ (YUKATA) เป็นกิโมโนผ้าฝ้ายชนิดหนึ่งที่สวมใส่แล้วจะรู้สึกสบายผิว โดยมากใช้สีน้ำเงินหรือขาว และเป็นลายพื้น ๆ ง่าย ๆ แบบดั้งเดิมของญี่ปุ่น
ทั้งหญิงและชายจะสวมยุคะตะเป็นชุดลำลองในฤดูร้อนโดยไม่มีกิโมโนชั้นใน และคาดโอะบิ (obi = ผ้าคาดอกชุดกิโมโน) ก็แบบง่าย ๆ อย่างเช่น ฮังฮะบะโอะบิ (hanhaba-obi -โอะบิความกว้างครึ่งหนึ่งของโอะบิปกติสำหรับผู้หญิง) หรือ เฮะโคะ-โอะบิ (heko-obi =โอะบิแบบผ้าอ่อนสำหรับเด็กหรือผู้ชาย)
ช่วงเวลาที่ดีที่สุดสำหรับสวมยุคะตะ คือเวลาที่ออกไปพักผ่อนหย่อนใจนอก บ้านตั้งแต่เย็นถึงค่าในฤดูร้อน หญิงและชายในชุดยุคะตะจะเหมาะเจาะอย่างที่สุด สำหรับเดินไปตามแผงขายของริมถนน เพลิดเพลินไปกับการแสดงพลุไฟที่ชวน หลงใหลในยามค่ำคืน ตลอดจนเข้าร่วมรา บงโอะโดะริ (bon-odori การรวง พื้นบ้านที่จัดขึ้นตอนกลางคืนในท้องถิ่นต่าง ๆ ตลอดเทศกาล โอะบัง ในฤดูร้อน)
กิจกรรม
<<การสวมยุคะตะ>>
วัสดุที่ใช้ :: ยุคะตะ, โอะบิ, เชือกรัดเอว 2 เส้น, เกะตะ (geta = รองเท้าไม้แบบญี่ปุ่น),กระจกบานยาวที่ส่องเห็นทั้งตัว
1. สอดแขนเข้าไปในแขนเสื้อยุคะตะ จับปลายปกเสื้อทั้ง 2 ข้างให้แน่นแล้วดึงเฉียงลงมาข้างหน้า ปรับความยาวของชุดให้ชายผ้าด้านหลังส่วนล่างกรอมบริเวณข้อเท้า
2. ดึงปลายปกเสื้อทั้ง 2 ข้าง ลองขยับทั้งข้างซ้ายและขวาให้ชายเสื้อตั้งแต่ปลายปกขนานกันลงมาทั้ง 2 ข้าง วางปลายปกเสื้อข้างขวาให้อยู่ตรงตำแหน่งของเอวข้างซ้าย (ผ้า ส่วนที่เหลือให้พับทบไว้) จากนั้นจับปลายปกเสื้อข้างซ้ายทบมาข้างหน้าให้อยู่ตรง ตำแหน่งของเอวด้านขวา (เสื้อด้านซ้ายทับด้านขวา)
3. ปรับความยาวของยุคะตะให้ชายด้านขวาและชายด้านซ้ายที่ทบอยู่ข้างบนยาวเท่ากัน แล้วผูกเชือกรอบเอวเหนือสะโพกให้แน่น ก็จะได้ความยาวตามต้องการ จัดผ้าหลวม ๆที่เหลืออยู่เหนือเชือกให้เข้าที่ แล้วผูกเชือกอีกเส้นหนึ่งทับไว้หลวม ๆ
4. จับปลายโอะบิไว้ด้วยมือซ้าย ให้โอะบิสอดอยู่ใต้แขนซ้าย คาดโอะบิจากด้านหลังจากทางขวาวนมาทางซ้ายรอบเอว 2 รอบ
5. จับปลายด้านสั้นและด้านยาวของโอะบิไว้ที่ตรงกลาง กะความยาวของปลายด้านสั้นให้ได้ประมาณ 50 เซนติเมตร แล้วพับปลายด้านยาวเข้าไปข้างในให้มีความยาว 60เซนติเมตร จากเอวลงไป
6. ทบครึ่งปลายด้านสั้น จับปลายด้านยาวไว้ด้วยมือขวา ผูกกับปลายด้านสั้นให้ปลายด้านสั้นอยู่ด้านบนห้อยชายลงมา ปลายด้านสั้นต้องพับครึ่งให้เป็นรูปคล้ายอักษรตัว U
7.พับปลายด้านยาวเข้าไปในแนวเฉียงเหลือชายไว้ทางขวาเล็กน้อย
8. สอดปลายด้านสั้นที่เหลือลอดเข้าไปในห่วงของปลายด้านยาวแล้วดึงออกมาด้านบนทางซ้าย
9. จัดรูปร่างโดยมองในกระจก จับโอะบิด้วนมือขวาแล้วเลื่อนไปข้างหลังโดยแขม่วท้องให้ปมอยู่ตรงกลางหลัง การผูกโอะบิเช่นนี้เรียกว่า “ปมรูปหอย”
10. เวลาจะออกไปข้างนอก ปกติจะสามเกะตะไป
คำถาม – คำตอบ
1. |
คำถาม :: |
จะหาซื้อยุคะตะได้ที่ไหน |
คำตอบ :: |
หาซื้อได้ตามร้านตัดเสื้อหรือที่แผนกเสื้อผ้าในห้องสรรพสินค้า ยุคะตะเป็นชุดที่สามารถเย็บได้โดยง่าย ถ้าหากมรผู้ช่วยสอนอยู่ข้าง ๆ ก็จะสามารถเย็บได้ด้วยจนเอง |
|
2. |
คำถาม :: |
ยุคะตะสวมเฉพาะในฤดูร้อนหรือ |
คำตอบ :: |
ผู้คนจะสวมยุคะตะเฉพาะในฤดูร้อนเวลาออกไปข้างนอก อย่างไรก็ตามคนจำนวนมากจะสวมเป็นชุดกลางคืน (ชุดนอน) ในทุกฤดู โรงแรมแบบ ญี่ปุ่นหลายแห่งจะจัดยุคะตะไว้ให้แขกสวมเพื่อได้ผ่อนคลายอิริยาบถ และในโรงแรมแบบตะวันตกจานวนไม่น้อยก็จัดยุคะตะไว้สำหรับแขกสวมนอนเช่นกัน |
|
3. |
คำถาม :: |
ใช้รองเท้าชนิดใดสวมกับยุคะตะเวลาจะออกไปข้างนอก |
คำตอบ :: |
เราสวมยุคะตะออกไปข้างนอกเฉพาะในฤดูร้อน จึงสวมคู่กับเกะตะด้วยเท้าเปล่า |
|
4. |
คำถาม :: |
วิธีผูกโอะบิมีหลายวิธีหรือ |
คำตอบ :: |
ใช่ วิธีที่แนะนำข้างต้นเรียกตามรูปลักษณะของปมว่า “ไค-โนะคุนิ” (kai = ปากหอย) ผู้ชายก็ผูกในลักษณะนี้ด้วยเช่นกัน จึงเรียกว่า “โอะโทะโคะ-มุสุบิ" (Otoko-musubi ปมสำหรับผู้ชาย) ตามร้าน เสื้อผ้าญี่ปุ่นมีโอะบิสำเร็จรูปขายเป็นชุดพร้อมกับปมสำเร็จที่ใช้เกี่ยว หรือผูกติดกับโอะบิ ในที่นี้ขอแนะนำวิธีผูกปม ใช-มุสุบิ” (choo-musubi = ปมผีเสื้อ) ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบในหมู่หญิงสาว 1) ทำเช่นเดียวกับ ไค-โนะ-คุฉิ-มุสุบิ จนถึงพันโอะบิรอบเอว 2 รอบให้แน่น 2) พันปลายด้านสั้นรอบปลายด้านยาวแล้วมัด 3) พับครึ่งด้านบนของปลายด้านสั้น 4) พับปลายด้านยาวให้กว้างเท่าเอว ทำเป็นส่วนปีกของผีเสื้อตรงกลางลาตัว 5) จับส่วนกลางปีกผีเสื้อแล้วจับจีบ 6) พันปลายด้านสั้นไปรอบปีกผีเสื้อและปมอันแรก 1-2 ครั้ง 7) พับปลายผ้าที่เหลือเข้าไปในโอะบิเพื่อไม่ให้มองเห็น 8) จัดรูปร่างผีเสื้อแล้วเลื่อนโอะบิไปให้ปมที่ผูกเสร็จแล้วอยู่ตรงกลางพอดี |
ความคิดเห็น