เทพเซียนจอมกะล่อน - นิยาย เทพเซียนจอมกะล่อน : Dek-D.com - Writer
×

    เทพเซียนจอมกะล่อน

    " นิยายกำลังภายใน เทพเซียนจอมกะล่อน " เมื่อเง็กเซียนฮ่องเต้ เบื่อกับชีวิตจำเจ เมื่อมีโอกาสก็ต้องออกท่องยุทธจักรแก้เครียดกันบ้าง

    ผู้เข้าชมรวม

    89,110

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    127

    ผู้เข้าชมรวม


    89.11K

    ความคิดเห็น


    900

    คนติดตาม


    1.82K
    จำนวนตอน :  46 ตอน
    อัปเดตล่าสุด :  23 ก.พ. 60 / 10:54 น.

    อีบุ๊กจากนิยาย ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ







    หลินฟง & เสี่ยวม่าน
    ---------



    ซันเหยา
    ---------



    เฉินซูเจ้า
    ---------




    อันนี้คือตัวอย่าง PDF ในกลุ่มครับ ทำการจัดเรียงสำนวน และแก้คำผิดใหม่ทั้งหมด หากผู้อ่านท่านใดสนใจติดตามได้ที่เพจครับ










    ระดับลมปราณ

    ลมปราณจะเป็นแบบปี เช่นลมปราณห้าปี ลมปราณสิบปี ประมาณนี้

    ค่าเงินในของจีนและน้ำหนัก

    ๔ สลึง เป็น ๑ บาท

    ๔ บาท เป็น ๑ ตำลึง

    ๑๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง

    ๒๐ ชั่ง เป็น ๑ ดุน

    ทอง ๑ บาท = ๑๕.๖๒ กรับ

    ดังนั้น ๑ ตำลึงไทยมีค่า = ๖๐ กรัม

    สมัยโบราณระบบเงินตราใช้มูลค่าตามน้ำหนัก

    เงิน ๑ ตำลึง = โลหะเงินมูลค่า ๑ ตำลึง

    ๑ ตำลึงทองก็คือทองคำหนัง ๑ ตำลึง

    ๑ ตำลึง = ๑๐ หุน 

    ๑ หุน = ๑๐ จี๊

    อีแปะ เป็นหน่วยย่อยของ ตำลึง กำหนดในสมัยคังซีฮ่องเต้

    อีแปะ : เป็นเงินตราที่มีรูปลักษณ์เหมือนเงินเหรียญของจีน ทำด้วยตะกั่วผสมดีบุก บรรดานายเหมือง และเจ้าเมืองแถบภาคใต้ของไทย เป็นผู้ทำขึ้นในอาณาเขตของตน โดยมีอักษรไทย – จีน บอกชื่อเมืองกำกับไว้เป็นสำคัญ จึงมักเรียกอีแปะเหล่านี้ตามชื่อเมืองที่ผลิต เช่น อีแปะสงขลา อีแปะพัทลุง อีแปะปัตตานี

    เงินแท่งและเงินก้อน : มีรูปลักษณ์ต่างๆกัน เช่น รูปเรือสำเภา อานม้า ขนมครก ฯลฯ เป็นเงินตราที่จีนนำมาใช้ ในอาณาจักรล้านนาไทย ราคาคิดตามน้ำหนักเงิน เป็นตำลึงจีน (๑๐ สลึง เท่ากับ๑ ตำลึงจีน) เนื่องจากเงินนี้มีเนื้อเงินบริสุทธิ์สูงเกือบ ๑๐๐ เปอร์เซนต์ จึงมีผู้นำไปใช้เป็นเครื่องประดับ และภาชนะใช้สอยกันมาก

    ค่าระยะทางและการวัดระยะ

    ๑ ลี้ – ๕๐๐ เมตร (ครึ่งงกิโลเมตร)

    ๑ เชียะ – ๓๓.๓๓ ซม.

    การอ้างอิงเวลา

    ในจีนแบ่ง ๑ วันเป็น ๑๒ ชั่วยาม (๑ ชั่วยาม เท่ากับ ๒ ชั่วโมง) 

    ขณะที่หนึ่งยามของไทยมีค่าประมาณ ๓ ชั่วโมง ดังนี้

    ยามหนึ่ง หรือ หนึ่งยาม หมายถึง ช่วงเวลา ๑๘ นาฬิกา ถึง ๒๑ นาฬิกา

    ยามสอง หรือ สองยาม หมายถึง ช่วงเวลา ๒๑ นาฬิกา ถึง ๐ นาฬิกา

    ยามสาม หรือ สามยาม หมายถึง ช่วงเวลา ๐ นาฬิกา ถึง ๓ นาฬิกา

    ยามสี่ หรือ สี่ยาม หมายถึง ช่วงเวลา ๓ นาฬิกา ถึง ๖ นาฬิกา

    ข้อมูลมาจาก : สารคดี ตราเงินโบราณ

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    คำนิยม Top

    ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

    คำนิยมล่าสุด

    ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

    ความคิดเห็น