เทพเซียนจอมกะล่อน
" นิยายกำลังภายใน เทพเซียนจอมกะล่อน " เมื่อเง็กเซียนฮ่องเต้ เบื่อกับชีวิตจำเจ เมื่อมีโอกาสก็ต้องออกท่องยุทธจักรแก้เครียดกันบ้าง
ผู้เข้าชมรวม
89,820
ผู้เข้าชมเดือนนี้
47
ผู้เข้าชมรวม
ข้อมูลเบื้องต้น
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ค่าเงินในของจีนและน้ำหนัก
๔ สลึง เป็น ๑ บาท
๔ บาท เป็น ๑ ตำลึง
๑๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง
๒๐ ชั่ง เป็น ๑ ดุน
ทอง ๑ บาท = ๑๕.๖๒ กรับ
ดังนั้น ๑ ตำลึงไทยมีค่า = ๖๐ กรัม
สมัยโบราณระบบเงินตราใช้มูลค่าตามน้ำหนัก
เงิน ๑ ตำลึง = โลหะเงินมูลค่า ๑ ตำลึง
๑ ตำลึงทองก็คือทองคำหนัง ๑ ตำลึง
๑ ตำลึง = ๑๐ หุน
๑ หุน = ๑๐ จี๊
อีแปะ เป็นหน่วยย่อยของ ตำลึง กำหนดในสมัยคังซีฮ่องเต้
อีแปะ : เป็นเงินตราที่มีรูปลักษณ์เหมือนเงินเหรียญของจีน ทำด้วยตะกั่วผสมดีบุก บรรดานายเหมือง และเจ้าเมืองแถบภาคใต้ของไทย เป็นผู้ทำขึ้นในอาณาเขตของตน โดยมีอักษรไทย – จีน บอกชื่อเมืองกำกับไว้เป็นสำคัญ จึงมักเรียกอีแปะเหล่านี้ตามชื่อเมืองที่ผลิต เช่น อีแปะสงขลา อีแปะพัทลุง อีแปะปัตตานี
เงินแท่งและเงินก้อน : มีรูปลักษณ์ต่างๆกัน เช่น รูปเรือสำเภา อานม้า ขนมครก ฯลฯ เป็นเงินตราที่จีนนำมาใช้ ในอาณาจักรล้านนาไทย ราคาคิดตามน้ำหนักเงิน เป็นตำลึงจีน (๑๐ สลึง เท่ากับ๑ ตำลึงจีน) เนื่องจากเงินนี้มีเนื้อเงินบริสุทธิ์สูงเกือบ ๑๐๐ เปอร์เซนต์ จึงมีผู้นำไปใช้เป็นเครื่องประดับ และภาชนะใช้สอยกันมาก
ค่าระยะทางและการวัดระยะ
๑ ลี้ – ๕๐๐ เมตร (ครึ่งงกิโลเมตร)
๑ เชียะ – ๓๓.๓๓ ซม.
การอ้างอิงเวลา
ในจีนแบ่ง ๑ วันเป็น ๑๒ ชั่วยาม (๑ ชั่วยาม เท่ากับ ๒ ชั่วโมง)
ขณะที่หนึ่งยามของไทยมีค่าประมาณ ๓ ชั่วโมง ดังนี้
ยามหนึ่ง หรือ หนึ่งยาม หมายถึง ช่วงเวลา ๑๘ นาฬิกา ถึง ๒๑ นาฬิกา
ยามสอง หรือ สองยาม หมายถึง ช่วงเวลา ๒๑ นาฬิกา ถึง ๐ นาฬิกา
ยามสาม หรือ สามยาม หมายถึง ช่วงเวลา ๐ นาฬิกา ถึง ๓ นาฬิกา
ยามสี่ หรือ สี่ยาม หมายถึง ช่วงเวลา ๓ นาฬิกา ถึง ๖ นาฬิกา
ข้อมูลมาจาก : สารคดี ตราเงินโบราณ
ผลงานอื่นๆ ของ piyawanpimpakdee ดูทั้งหมด
ผลงานอื่นๆ ของ piyawanpimpakdee
ความคิดเห็น