ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    • ฟอนต์ THSarabunNew
    • ฟอนต์ Sarabun
    • ฟอนต์ Mali
    • ฟอนต์ Trirong
    • ฟอนต์ Maitree
    • ฟอนต์ Taviraj
    • ฟอนต์ Kodchasan
    • ฟอนต์ ChakraPetch
ฟิสิกส์ `

ลำดับตอนที่ #3 : การหาแรงลัพธ์และการรวมเวกเตอร์โดยวิธีสร้างรูป

  • อัปเดตล่าสุด 11 ก.พ. 56


ลัธ์ร์วิธีร้รู

แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ การหาแรงลัพธ์ของแรงย่อยทั้งหมดทำได้โดยการเขียนรูปแบบหางต่อหัว
ตัวอย่างเช่น










ถ้าแรง 3 แรงกระทำต่อวัตถุเดียวกัน  แล้ววัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลจะได้รูปสามเหลี่ยมปิด นั้นคือขนาดของ R ( แรงลัพธ์ ) = 0  หรือไม่มีแรงลัพธ์   ดังรูป






ถ้าแรงหลายแรงกระทำต่อวัตถุเดียวกัน  แล้ววัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลจะได้รูปหลายเหลี่ยมปิด นั้นคือขนาดของ R ( แรงลัพธ์ ) = 0  หรือไม่มีแรงลัพธ์   ดังรูป



# หมายเหตุ จากการหาแรงลัพธ์โดยวิธีสร้างรูป แรงลัพธ์ R จากรูป ที่ได้ก็คือแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่และมีความเร่ง  แต่ถ้ามีแรงหลายแรงกระทำต่อวัตถุเดียวกัน แล้วแรงลัพธ์ R = 0  แสดงว่าวัตถุอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่  หรือกล่าวได้อีกอย่างว่าวัตถุอยู่ใน สภาวะสมดุล

_______________________________________________________

ก่อนจากกัน*


:)  Shalunla
Tiny Star
ติดตามเรื่องนี้
เก็บเข้าคอลเล็กชัน

ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

2ความคิดเห็น

กำลังโหลด...

2ความคิดเห็น

กำลังโหลด...
×