เก็บงานให้น้อง~ อย่าเข้ามาเล้ย~ - เก็บงานให้น้อง~ อย่าเข้ามาเล้ย~ นิยาย เก็บงานให้น้อง~ อย่าเข้ามาเล้ย~ : Dek-D.com - Writer

    เก็บงานให้น้อง~ อย่าเข้ามาเล้ย~

    เหอๆๆๆ เฮ้อๆๆๆๆๆๆๆๆๆ~

    ผู้เข้าชมรวม

    671

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    3

    ผู้เข้าชมรวม


    671

    ความคิดเห็น


    0

    คนติดตาม


    0
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  29 พ.ย. 52 / 10:30 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    ประวัติวัดทองศาลางาม
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

      ตั้งอยู่เลขที่ 247 ถนนเพชรเกษม ซอย 20 คลองบางหลวงน้อย แขวง20 ไร่20 ผ่านทางด้านทิศใต้

      1.

      ทรงไทยก่ออิฐถือปูน เมื่อปลายกรุงศรีอยุธยา ขณะนี้ชำรุดทรุดโทรมมาก

      และทางวัดกำลังก่อสร้างอุโบสถหลังขึ้นแทนขนาดกว้าง

      อุโบสถ กว้าง 11.75 เมตร ยาว 21.25 เมตร ก่อสร้างแบบ9 เมตร ยาว 24

      เมตร ก่อสร้างด้วยอิฐถือปูน

      2.

      ศาลาการเปรียญ กว้าง 10 เมตร ยาว 21 เมตร ก่อสร้างด้วยไม้

      3.

      กุฏีสงฆ์ มี 9 หลัง สร้างด้วยไม้ 2 หลัง เป็นครึ่งตึกครึ่งไม้ 6 หลัง

      4.

      บุรี ส่วนพระประธานอุโบสถหลังใหม่ ที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ

      สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเททองหล่อ ซึ่ง

      ขณะนี้เสร็จเรียบร้อยแล้ว

      ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องศิลปะสมัยกรุงธน

      สถานที่ตั้ง

      ปูชนียวัตถุและถาวรวัตถุ

      2

      วัดทองศาลางาม สร้างเมื่อ ประมาณ พ

      ก่อนชาวบ้านนิยมเรียกว่า

      .. 2300 แต่ไม่ทราบประวัติการก่อสร้าง ในสมัยวัดทองล่างหรือ วัดทองแต่ปัจจุบันนิยมเรียกว่า วัดทองหรือ

      วิสุงคามสีมาเมื่อ พ

      วัดทองบางไผ่แต่นามวัดทางราชการคือ วัดทองศาลางามและวัดนี้ได้รับพระราชทาน.. 2320

      การศึกษาและสาธารณสงเคราะห์ของวัด

      การศึกษาทางวัดสนับสนุนให้พระภิกษุ สามเณร ไปเลือกสำนักเรียนได้ตามอัธยาศัย และ

      สนับสนุนให้มีศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ด้วย นอกจากนี้ยังให้ที่ดินแก่ส่วนราชการ

      สร้างโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครด้วย

      เจ้าอาวาสปกครองวัดนี้ ไม่มีประวัติเจ้าอาวาสตั้งแต่รูปแรก แต่ที่ปรากฏมีดังนี้

      1.

      หลวงปู่รักษ์

      2.

      พระอธิการสุวัฒน์

      3.

      พระมหาสุบิน

      4.

      พระมหาทองสร้อย ภูริปัญโญ

      5.

      พระครูสุปุญญาภิราม

      6.

      พระครูใบฎีกาบุญล้วน ฉายา ยุตฺตธฺมโม เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน

      ประวัติวัดและการปฏิสังขรณ์

      รายนามเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีต

      - ปัจจุบัน

      3

      ประวัติพระสังฆาธิการ

      ชื่อ พระครูใบฎีกาบุญล้วน ฉายา ยุตฺตธฺมโม อายุ

      63 พรรษา43 วิทยฐานะ ป.1-2 .

      2480

      นาดูน จังหวัดมหาสารคาม

      อุปสมบท วัน

      ตำบลนาดูน อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม พระอุปัชฌาย์ พระครูมานิตย์ปฏิภาณ วัดโสมนัส

      ประดิษฐ์ ตำบลหนองแสง อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม พระกรรมวาจาจารย์

      พระอธิการสออน วัดหนองเม็ก ตำบลนาดูน อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม พระอนุสาวนา

      จารย์ พระจันที โอภาโส วัดหนองเม็ก ตำบลนาดูน อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

      . เอก สถานะเดิม ชื่อ บุญล้วน ปะเสระกัง เกิด 4 6 ค่ำ ปีฉลู วันที่ 24 เดือน เมษายน พ..บิดาชื่อ นายบุญมา มารดาชื่อ นางทองสา บ้านเลขที่ 29 หมู่ที่ 1 ตำบลหนองไผ่ อำเภอ26 ค่ำ ปีระกา วันที่ 24 เดือน กรกฎาคม พ.. 2500 วัดหนองเม็ก

      วิทยาฐานะ

      1.

      ขวาน ตำบลหนองไผ่ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

      .. 2492 สำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประชาบาลหนองไผ่ด้าม

      2.

      .. 2505 สอบได้นักธรรมเอก สำนักเรียนคณะจังหวัดหนองคาย

      3.

      .. 2510 สอบได้ ป.. 1-2 สำนักเรียนคณะจังหวัดหนองคาย

      4.

      การศึกษาพิเศษ การบัญชีชั้นสูง

      5.

      ชำนาญการ นวกรรมและเป็นพระธรรมกถึก

      งานปกครอง

      1.

      กรุงเทพมหานคร

      .. 2514 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดทองศาลางาม แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ

      4

      2.

      เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

      .. 2534 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดทองศาลางาม แขวงปากคลอง

      3.

      กรุงเทพมหานคร

      .. 2537 เป็นเจ้าอาวาสวัดทองศาลางาม แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ

      4.

      .. 2540 มีพระภิกษุ 27 รูป สามเณร 9 รูป ศิษย์วัด 15 คน

      5.

      .. 2541 มีพระภิกษุ 31 รูป สามเณร 10 รูป ศิษย์วัด 13 คน

      6.

      .. 2542 มีพระภิกษุ 35 รูป สามเณร 9 รูป ศิษย์วัด 15 คน

      งานสาธารณูปการ

      1.

      อาวาสขนาดยาว

      .. 2540 ดำเนินการสร้างอุโบสถหลังใหม่แทนหลังเก่าต่อจากอดีตเจ้า24 เมตร กว้าง 8 เมตร เทพื้นบริเวณสนามลานวัดด้วย

      2.

      คอนกรีตเสริมเหล็ก เนื้อที่

      .. 2541 สร้างกำแพงแก้วรอบอุโบสถ ยาว 120 เมตร (40 ห้อง) สร้าง2,500 ตารางเมตรกำแพงรอบวัด ยาว 240 เมตร สูง 2 เมตร (80

      ห้อง

      3.

      ).. 2542 สร้างซุ้มประตูกำแพงแก้วรอบอุโบสถ จำนวน 2 ซุ้ม สร้างห้องน้ำ

      รวมรายการก่อสร้างทุกรายการเป็นเงินจำนวน

      ห้าหมื่นสามร้อยบาทถ้วน

      ห้องสุขา ยาว 15 เมตร (10 ห้อง) สร้างหอกลอง หอระฆัง สูง 3 ชั้น6,955,300 บาท (หกล้านเก้าแสน)

      สมณศักดิ์

      เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

      .. 2536 เป็นพระครูในฎีกา ฐานานุกรมใน พระเทพวรเวที วัดแก้วแจ่มฟ้า

      5

      ประวัติ

      โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดทองศาลางาม

      แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

      โรงเรียนพระพุทธศาสนาวัดอาทิตย์วัดทองศาลางาม ได้เปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวัน

      อาทิตย์ที่

      ชนส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจในชีวิตและสังคมทำให้ขาดความคิดที่จะพัฒนาและริเริ่มสร้างสรรค์

      ในการนำสังคมไปสู่ความเจริญ จึงก่อให้เกิดปัญหาหลายอย่าง เช่น อาชญากรรม ยาเสพติด ฯ

      และมีความเสื่อมโทรมทางด้านศีลธรรม จริยธรรม จนกลายเป็นปัญหาของชาติ

      4 กรกฎาคม 2519 โดยโรงเรียนแห่งนี้ มองเห็นสภาพสังคมในปัจจุบัน เด็กและเยาว

      คณะสงฆ์วัดทองศาลางาม ได้คำนึงถึงปัญหาเหล่านี้มาตลอดจึงได้ร่วมกันจัดตั้งโรงเรียน

      พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ขึ้น เพื่อเปิดสอนอบรมศีลธรรม จริยธรรม และหลักการดำเนินชีวิตแก่

      เด็กและเยาวชน เพื่อให้มีความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

      1.

      เพื่อธำรงและส่งเสริมสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์

      2.

      เพื่อให้เยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ด้วยการปฏิบัติธรรม

      3.

      เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีในหลักธรรม และจริยธรรม

      4.

      เพื่อรักษาและส่งเสริมประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของชาติ

      5.

      เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนตามหลักพุทธธรรม

      ปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ดินตั้งวัด

      อาณาเขต

      ทิศเหนือ ติดต่อกับวัดกำแพง

      ทิศใต้ ติดต่อกับโรงเรียนวัดทองศาลางาม และบ้านเอกชน

      ทิศตะวันออก จดคลองบางหลวงน้อย

      ทิศตะวันตก ติดต่อกับบ้านเอกชน

      พื้นที่ตั้งวัด เป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึงในฤดูฝนและน้ำหลาก การคมนาคมสะดวกทั้งทางบก

      และทางน้ำ โดยมีคลองบางหลวงน้อย และซอยเพชรเกษม

      ภายในวัดมีอาคารเสนาสนะต่าง ๆ ดังนี้

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×