ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    =สรุป สูตร ฟิสิกส์ ม.ปลาย=

    ลำดับตอนที่ #5 : =สรุปสูตรฟิสิกส์ ม.6 เทอม1=

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 108.42K
      58
      7 ก.ย. 51

      ในชั้น ม. 6 เทอม  1 เรื่องที่จะเรียนก็คือ

     เรื่องการเคลื่อนที่แบบต่างๆ

    เรื่องสมบัติเชิงกลของสาร

    เรื่องความร้อน ฯ

     

     

     บทที่เรียนในเทอมนี้จะไม่ค่อยยากเท่าไรนะค่ะ

    เรื่องการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ก็จะเป็นเรื่อง projectileหรือวิถีโค้งนั่นเองแหละ

    ส่วนเรื่องความร้อนก็จะเรียนคล้ายๆ กับของเคมีเลยค่ะ

    การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

     การเคลื่อนที่ใน 2 มิติ

    สูตร    แนวราบ  ความเร็วคงที่

    s    =    vt

     

    สูตร    แนวดิ่ง  มีความเร่ง g

    v    =    u + gt

    s    =    t

    s    =    ut + gt2

    v2    =    u2 + 2gs

     

    สูตรลัด

    sราบ    =    

    smax    =    

    ขว้างไกลสุด    =    45 ํ

    ขว้างให้ตกไกลเท่ากัน    =    90 ํ

     sดิ่ง    =    

       =    

     

    สูตร    ความเร็วลัพธ์

    v2ลัพธ์    =    u2ลัพธ์ 2ghดิ่ง

     

    สูตร    การเคลื่อนที่แนววงกลม

    วัตถุเคลื่อนที่ด้วย v คงที่

    ac    =    

    วัตถุเคลื่อนที่ด้วย v ไม่คงที่

    aลัพธ์    =    

    F    =    

    Fc    -    แรงสู่ศูนย์กลาง

    ac    -    ความเร่งสู่ศูนย์กลาง

    v    -    ความเร็ว

     

    church_1.gif

    สูตร    การคำนวณแรงสู่ศูนย์กลาง

    form    8    แบบ

    1.  วัตถุผูกเชือกแกว่งเป็นวงกลม

    T    =    

    2.  ดาวเทียมโคจรรอบโลก

    mg    =    

    3.  วัตถุผูกเชือกแกว่งเป็นรูปกรวย

    tan    =    

    4.  วัตถุผูกเชือกแกว่งในระนาบดิ่ง

    T1 + mg    =    

    T2 - mg    =    

    T3    =    

    - mg cos + T4    =    

    5.  รถวิ่งเลี้ยวโค้งบนถนนราบ

       =    

    6.  มอเตอร์ไซค์เลี้ยวโค้ง

    tan    =    

    7.  มุมที่ยกพื้นถนนขึ้นจากแนวดิ่ง

    tan    =    

    8.  มอเตอร์ไซค์ไต่ถัง

       =    

     

    สูตร    อัตราเร็วเชิงมุม

       =        =    

    w    =    ระยะทางเชิงมุม / เวลา    =    

    v    =    wR

    w    =        =    2 f

    Fc    =    mw2R

    v    =        =    2 Rf

          -    ระยะทางเชิงมุม

    w    -    อัตราเร็วเชิงมุม

    T    -    คาบ

    f    -    ความถี่

    R    -    รัศมี

     สูตร    โพรเจกไทล์บนพื้นเอียง

    หลักการ

    1.  แตกเข้าแกน x '  ,  y '

    2.  แตก g เข้าแกน

    3.  คิดแบบโพรเจกไทล์ธรรม

    หลักการ

    ให้จับพื้นเอียงตั้งขึ้นแนวดิ่ง แล้วคิดแบบธรรมดา โดยใช้ g อันใหม่เป็น  gsin

     

    สูตร    เคลื่อนที่เป็นวงกลมพอดี

    vบน    =    

    vล่าง    =    

    H    =    2.5 R

     

    สูตร    ผลต่างแรงตึงเชือก

    แกว่งด้วย v คงที่

    Tล่าง - Tบน    =    2mg

    แกว่งด้วย v ไม่คงที่

    Tล่าง - Tบน    =    6mg

     

    สูตร    ดาราศาสตร์

       =    

       =    

     

    สูตร    โคจรรอบสิ่งเดียวกัน

       =    

    T    -    คาบของการโคจร

    R    -    รัศมีวงโคจร

    M    -    มวลของดาวที่มีวัตถุอื่น มาโคจรรอบ ๆ

    G    -    ค่านิจโน้มถ่วงสากล  6.67 * 10-11  Nm2 / kg2

     

    สูตร    ค่า g ในอวกาศ

         =    

    g'    -    ค่าความเร่งโน้มถ่วงในอวกาศ

    g    -    ค่าความเร่งโน้มถ่วงที่ผิวโลก

    R    -    รัศมีโลก

    h    -    ความสูงจากผิวโลก

     

    การเคลื่อนที่แบบหมุน

    สูตร    ทอร์ก โมเมนต์ความเฉื่อย

       =        =    

    I    =    

    v    =    wR

    S    =     * R

    a    =    

       -    ทอร์ก  ( N.m )

    I    -    โมเมนต์ความเฉื่อย  ( kg . m2 )

       -    ความเร่งเชิงมุม  ( rad / s2 )

    R    -    แทนการหมุน

    สูตร    พลังงานจลน์ในการหมุน

    Ekหมุน    =    

    Ekทั้งหมด    =    

     

    house10_brown.gif

    สูตร    โมเมนตัมเชิงมุม

    L    =    mvR    =    Iw

     

    สูตร    กฏการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม

    Lแรก    =    Lหลัง

       =    

       -    โมเมนต์ความเฉื่อย

    w    -    อัตราเร็วเชิงมุม

    L    -    โมเมนตัมเชิงมุม

     

    สูตร    ซิมเปิลฮาร์มอนิก

    แกว่งตุ้นาฬิกา

    T    =    

    w    =    

    สั่นสปริง

    T    =    

    w    =    

    แกว่งกรวย

    T    =    

    w    =    

    T    -    คาบ

    l    -    ความยาว

    g    -    ความเร่ง

    k    -    ค่าคงที่สปริง

     

    สูตร    ซิมเปิลฮาร์มอนิก

    y    =    ymax sin wt

    v    =    vmax cos wt

    a    =    - amax sin wt

    vใด ๆ    =    w

    vmax    =    wR

    aใด ๆ    =    w 2y

    amax    =    w2R

    v    -    ความเร็ว

    a    -    ความเร่ง

     

    สูตร    หลักคำนวณเรื่องสปริง

    ดึงสปริงคนละข้าง

    Kรวม    =    K1 + K2

    สปริงต่อขนาน

    Kรวม    =    K1 + K2 + K3

    สปริงต่ออนุกรม

       =    

    สมบัติเชิงกลของสาร

      สมบัติเชิงกลของสาร

    สูตร    สมบัติเชิงกลของสาร

    ความเค้น    =    

    ความเครียด    =    

    มอลดูลัสของยัง    Y   =    

    F    -    แรงในแนวตั้งฉาก  (N)

    A    -    พื้นที่หน้าตัด  (ตร.ม.)

       -    ระยะยืด  (m)

    L    -    ความยาวเดิม  (m)

     

    สูตร    ความดันในของเหลว  ความดันสัมบูรณ์

    P    =    

    P    =    gh

    Pสัมบูรณ์    =    Pเกจ + Pบรรยากาศ

    F    -    แรงดัน  (N)

    P    -    Pเกจ เป็นความดันเนื่องจากน้ำหนักของเหลว  (N / m2)

       -    ความหนาแน่นของของเหลว  (kg / m3)

    h    -    ความลึกของของเหลว  (m)

     

    สูตร    แรงดันผนังภาชนะ , แรงน้ำดันเขื่อน

    F    =    PA    =     Aข้าง

    แรงที่น้ำดันเขื่อน

    F    =    

    1.  ถ้าเป็นเขื่อนเอียง 1 ข้าง การหาแรงดันเขื่อนเอียงต้องใช้พื้นที่เอียงด้วย

    F    =    PAเอียง

    2.  น้ำดัน 2 ข้าง คิดเป็นแรงลัพธ์ ถ้าเขื่อนเอียงให้คิดเป็นตรง

       =    F1 - F2

       =    

     

    สูตร    หลอดรูปตัว U

    ปลายเปิด 2 ข้าง

    PA    =    PB

       =    

     

    house07.gif

    สูตร    ความดันบรรยากาศ

    ความดัน 1 บรรยากาศ    =    1.01 * 105  N / m2  (Pa)

    ความดัน 1 บรรยากาศ    =    ปรอทสูง 75 cm

    ความดัน 1 บรรยากาศ    =    น้ำสูง 10.3 m

     

    สูตร    กฎของบอยล์

    P1V1    =    P2V2

     

    สูตร    กฎของชาร์ล

       =    

     

    สูตร    กฎของแก๊ส  ( เมื่อจำนวนโมลคงที่ )

       =    

     

    สูตร    กฎของพาสคัล

       =    

    F    -    แรงกดลูกสูบเล็ก  (N)

    W    -    น้ำหนักที่กดลูกสูบใหญ่  (N)

    A    -    พื้นที่สูบใหญ่  (m2)

    a    -    พื้นที่สูบเล็ก  (m2)

    ถ้าต้องการผ่อนแรงมากขึ้นจะใช้ไม้คาน

    O    จุดหมุน

    Mตาม    =    Mทวน

    FL    =    F 'l

     

    house02_greenroof.gif

    สูตร    แรงลอยตัว

    B    =    vgเหลว    =    mgเหลว

     

    สูตร    ความตึงผิว

    เหรียญ

    F    =     L

    ห่วงลวด

    F    =     2L

     

    สูตร    ความหนืด

    f    =    

    B    -    แรงลอยตัว

    V    -    ปริมาตร  (m3)

       -    ความตึงผิว  (N / m)

    F    -    แรงตึงผิว

    L    -    ความยาวเส้นผิวของเหลว  (m)

    f    -    แรงหนืด  (N)

       -    สัมประสิทธิ์ความหนืด

    r    -    รัศมีทรงกลม

    v    -    อัตราเร็วของวัตถุ

     

    สูตร    ของไหลในอุดมคติ

    อัตราการไหล    เมื่อของเหลวไหลตามหลอดการไหล m ของเหลวที่ผ่านที่ตำแหน่งใด ๆ ใน 1 วินาที มีค่าคงที่เสมอ

    A1V1    =    A2V2

    AV    คือ    อัตราการไหล  (m3 / s)

     

    หลักของแบร์นูลลี

    ณ ตำแหน่งใด ๆ ในของไหล  ผลรวมของความดัน , พลังงานจลต่อปริมาตร และพลังงานศักย์ต่อปริมาตรมีค่าคงที่เสมอ

    P1 +    =    P2 +

     

    windmill.gif

    ความร้อน

     สูตร   พลังงานความร้อน  อุณภูมิ

    Q  =  mcT

    Q  =  CT

    C  =  mc

    Q  =  mL

    Q  -  ปริมาณความร้อน  (J)

    m  -  มวล  (kg)

    T  -  อุณหภูมิ (C)

    C  -  ค่าความจุความร้อน

    c  -  ค่าความจุความร้อนจำเพาะ

    L  -  ค่าความร้อนแฝงความร้อนของวัตถุ

     

    สูตร   กฎของแก๊ส

    PV  =  nRT

    PB  =  NKBT

    P  -  ความดัน(N/m2)

    V  -  ปริมาตรของแก๊ส(m3)

    N  -  จำนวนโมเลกุลทั้งหมดของแก๊ส

    n  -  จำนวนโมลของแก๊ส

    R  -  ค่าคงตัวของแก๊ส   8.314  J/mol x K

    KB  -  ค่านิจโบลต์ซมันน์  1.38 x 10-23

    T  -  อุณหภูมิ  (K)

    *ใช้ได้เมื่อไม่มีการเปลี่ยนสถานะ*

     

    building.gif

    สูตร   แบบจำลองของแก๊ส

    PV  =  

    NE

     1  โมเลกุล  =   

    P  -  ความดัน

    V  -  ปริมาตรของแก๊ส

    N  -  จำนวนโมเลกุลทั้งหมด

    n  -  จำนวนโมลของแก๊ส

    R  -  ค่าคงตัวของแก๊ส  8.314  J/mol x K

    KB  -  ค่านิจโบลต์ซมันน์  1.38 x 10-23

    T  -  อุณหภูมิ (K)

    Vrms  -  อัตราเร็วรากที่สองของกำลังสองเฉลี่ย

     

    สูตร   แก๊สผสมกัน

    nผสมTผสม  =  

    PผสมVผสม  =   

    P  -  ความดัน

    n  -  โมล

    V  -  ปริมาตร 

    สูตร    แบบจำลองของแก๊ส

    PV   =  

    Vrms  =  

    NEk-  =  

    Ek-  1  โมเลกุล    

    P  -  ความดัน

    V  -  ปริมาตรของแก๊ส

    N  -  จำนวนโมเลกุลทั้งหมด

    n  -  จำนวนโมลของแก๊ส

    R  -  ค่าคงตัวแก๊ส  8.314  J/mol x k

    KB  -  ค่านิจโบลต์ซมันน์  

    T  -  อุณหภูมิ  (K)

    V rms -  อัตราเร็วรากที่สองของกำลังเฉลี่ย

     

    house01_green.gif

    สูตร   แก๊สผสมกัน

    งานในการเปลี่ยนปริมาตร

    W  =  P(V2 - V1)

    P  -  ความดันแก๊ส

    V2  -  ปริมาตรแก๊สตอนหลัง

    V1  -  ปริมาตรแก๊สตอนแรก

    W  -  งานที่แก๊สทำ

     

    สูตร   พลังงานภายในระบบ

    U  =  NE-K  

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×