ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    =สรุป สูตร ฟิสิกส์ ม.ปลาย=

    ลำดับตอนที่ #6 : =สรุปสูตรฟิสิกส์ ม.6 เทอม2=

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 80.59K
      55
      7 ก.ย. 51




    เทอมนี้ก็จะเป็นเทอมสุดท้ายสำหรับการเรียนฟิสิกส์ของ ม. ปลายแล้วนะค่ะ

    ก็จะมีเรื่องไฟฟ้าหลงมาอยู่  1  บท  นะค่ะ

     ไฟฟ้ากระแสสลับ

    สูตร    ความต้านทานเชิงความจุ

     

    สูตร    ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ

     

    สูตร    ความต้านทาน

    R  =  

    XC  -  ความต้านทานเชิงความจุ  (โอห์ม)

    XL  -  ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ  (โอห์ม)

    R  -  ความต้านทาน  (โอห์ม)

    W  -  อัตราเร็วเชิงหมุน  (rad/s)

    C  -  ค่าความจุ  (ฟาร์ด)

    L  -  ค่าความเหนี่ยวนำ  (เฮนรี)

     

    i_butterfly_spot.gif

    สูตร    ไฟฟ้ากระแสสลับ

    I  -  กระแสที่เวลาใดๆ (A)

    Imax  -  กระแสสูงสุด  

    V  -  ความต่างศักย์ที่เวลาใดๆ  (V)

    Vmax  -  ความต่างศักย์สูงสุด

    W  -  อัตราเร็วเช้งมุมของการหมุนขดลวด  (rad/s)

    t  -  เวลาใดๆ

     -  เฟสขณะที่เริ่มต้นหมุนของลวด

     

    สูตร    การรวมความต้านทาน

    วงจรต่ออนุกรมกัน

    วงจรต่อขนานกัน

    Z  -  ความต้านทานเชิงซ้อน  (โอห์ม)

    XL  -  ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ  (โอห์ม)

    XC  -  ความต้านทานเชิงความจุ  (โอห์ม)

     

    a_pig01_coral.gif

    สูตร    ค่ายังผล , ค่ามิเตอร์ , ค่า RMS (Root Mean Square)

    IRMS  -  ค่ามิเตอร์  (A)

    Imax  -  กระแสสูงสุด

    VRMS  -  ค่ามิเตอร์  (V)

    Vmax  -  ความต่างศักย์สูงสุด

     

    สูตร    กำลังเฉลี่ย

    P  =  IV(cos)

    P  =  

      

    P  -  กำลังเฉลี่ย  (วัตต์)

    cos  -  ตัวประกอบกำลัง

    Pmax  -  กำลังสูงสุด  (วัตต์)

    สูตร    คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

    c  =  f

    c  -  ความเร็วแสง  (3 x 108 m/s)

    f  -  ความถี่  (HZ)

     -  ความยาวคลื่น  (m)

     

    สูตร    การแทรกสอด

    S1 p  -  S2 p    =        =        =    

     

    สูตร   จุดปฏิบัพ

    S1 p  -  S2 p   =        ;  n  =  0 , 1 , 2 , .....

     

    i_ladybird.gif

    สูตร    จุดบัพ

    S1 p  -  S2 p    =    (n  -  )     ;  n  =  1 , 2 , 3 , .....

     

    สูตร    โพลาไรซ์เซชัน

    1n2    =     p

    n   =   ดรรชนีหักเห

    p   =   มุมตกกระทบที่ทำให้รังสีหักเหและสะท้อนทำมุม  90 ํ  

    (มุมโพลาไรซ์ , มุมบรูวสเตอร์)

    ฟิสิกส์อะตอม

    สูตร   สนามไฟฟ้า

    E    =        =    

     

    สูตร   แรงแม่เหล็ก

    F    =    qvb

    E   =   สนามไฟฟ้า  (n/c)

       =   ความต่างศักย์ไฟฟ้า  ()

    d   =   ระยะห่างระหว่าง  แผ่นโลหะคู่ขนาน  (m)

    v   =   ความเร็ว  (m/s)

    b   =   ความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้า  (t)

    q   =   ประจุไฟฟ้า  (c)

     

    สูตร  คำนวนทอมสัน

       =      

      -----   -----

    q   =   ประจุ  (c)

    m   =   มวล  (kg)

       =   ความเร็ว  (m/s)

      =   ความต่างศักย์  (v)

    B    =   สนามแม่เหล็ก  (r)

    d    =   ระยะห่าง  (m)

    E    =   สนามไฟฟ้า  (v/m)

       =        =        =    

     

    สูตร  มิลลิแกน

    qE  =  mg

    q  -  ประจุ  

    E  -  สนามไฟฟ้า  

    m    -    มวล  

    g    -    แรงโน้มถ่วงโลก หรือ ความเร่ง  

     

    f_goldfish01_red.gif

    ควอนตัมของพลังงานไฟฟ้า

    E  =  hf

    E  -  พลังงาน

    h  -  ค่าคงที่ของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)

    f  -  ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

     

     ธาตุไฮโดรเจน

    L  =  mvr  =  nh-

    n  -  เลขควอนตัม  1,2,3, ...

    h-  -    (1.05 x 10-34  J.S)

    Ei  -  พลังงานของอิเล็คตรอนก่อนเปลี่ยนวงโคจร

    Ef  -  พลังงานของอิเล็คตรอนหลังเปลี่ยนวงโคจร

    h  -   ค่านิจของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)

    f  -  ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

     

    ระดับพลังงานของธาตุไฮโดรเจน

    E  =  hf  =  

     

    ทฤษฎีอะตอมโบร์

    rn  =  n2 (0.53 * 10-10)

    Vn  =  

    fn  =  

    rn  -  รัศมีวงโคจรที่  n

    Vn  -  อัตราเร็วของอิเล็คตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียส  วงที่  n

    fn   -  ความถี่ของอิเล็คตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียส  ลงที่  n

     

    f_creel.gif

    รังสีเอ็กซ์

    qv  =  

    q  -  ประจุ

    v  -  ความต่างศักย์  (V)

    h  -  ค่าคงที่จของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)

     -  ความยาวคลื่น

     

    โฟโต้อิเล็คทริก

    Ek  =  hf - W

    Ek  -  พลังงานจลน์

    W  -  งาน

    f  -  ความถี่ของแสงที่ฉายมาที่โลหะ

     

    สมมติฐานเดอบรอยล์

    โมเมนต์ของแสง

    p  =  

    ความยาวคลื่นของเดอบรอยล์

    หลักความไม่แน่นอนของ  Heisenberg

    x  -  ความไม่แน่นอนทางตำแหน่ง

    P  -  ความไม่แน่นนอนทางโมเมนตัม

    สูตร     ธาตุไฮโดรเจน

    L  =  mvr  =  nh-

    n  -  เลขควอนตัม  1,2,3, ...

    h-  -    (1.05 x 10-34  J.S)

    Ei  -  พลังงานของอิเล็คตรอนก่อนเปลี่ยนวงโคจร

    Ef  -  พลังงานของอิเล็คตรอนหลังเปลี่ยนวงโคจร

    h  -   ค่านิจของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)

    f  -  ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

     

    สูตร   ระดับพลังงานของธาตุไฮโดรเจน

    E  =  hf  =  

     

    b_egg_small.gif

    สูตร   ทฤษฎีอะตอมโบร์

    rn  =  n2 (0.53 * 10-10)

    Vn  =  

    fn  =  

    rn  -  รัศมีวงโคจรที่  n

    Vn  -  อัตราเร็วของอิเล็คตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียส  วงที่  n

    fn   -  ความถี่ของอิเล็คตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียส  ลงที่  n

     

    สูตร   รังสีเอ็กซ์

    qv  =  

    q  -  ประจุ

    v  -  ความต่างศักย์  (V)

    h  -  ค่าคงที่จของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)

     -  ความยาวคลื่น

     

    สูตร   โฟโต้อิเล็คทริก

    Ek  =  hf - W

    Ek  -  พลังงานจลน์

    W  -  งาน

    f  -  ความถี่ของแสงที่ฉายมาที่โลหะ

     

    b_lark.gif

    สมมติฐานเดอบรอยล์

    สูตร   โมเมนต์ของแสง

    p  =  

     

    สูตร   ความยาวคลื่นของเดอบรอยล์

     

    สูตร   หลักความไม่แน่นอนของ  Heisenberg

    x  -  ความไม่แน่นอนทางตำแหน่ง

    P  -  ความไม่แน่นนอนทางโมเมนตัม

    ฟิสิกส์นิวเคลียส

    สูตร    เวลาครึ่งชีวิต

    N  =  

    N  -  สารตั้งต้น

    N0  -  สารที่เหลือ

     

    สูตร   กัมมันตภาพ

    A  =  N

    A  -  กัมมันตภาพ

     -  ค่าคงที่ของการสลายตัว

    N  -  จำนวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีที่มีในขณะนั้น

     

    สูตร   ค่าคงที่ของการสลายตัว

     =  

     -  ค่าคงที่ของการสลายตัว

    T  -  เวลาครึ่งชีวิต

     

    f_inkfish.gif

    สูตร   จำนวนนิวเคลียส

    จำนวนนิวเคลียส  =  

    NA  -  Avogadro Number  (6.02 * 1023)

    m  -  มวลสารหน่วยเป็นกรัม

    A  -  เลขมวล

     

    สูตร   สมดุลการสลายของกัมมันตรังสี

     

    สูตร   รัศมีของนิวเคลียส

    R  =  

    R  =  รัศมีของนิวเคลียส

     

    สูตร   พลังงานยึดเหนี่ยว

    E  =  mC2

    มวล  1  u  เปลี่ยนเป็นพลังงานได้  931  MeV

    E  -  พลังงาน  (J)

    m  -  มวล  (kg)

    C  -  อัตราเร็วแสง  (m/s)

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×