ฟิคชั่นการ์ตูนเรื่อง ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส กันบ้างแทบไม่หวัง - ฟิคชั่นการ์ตูนเรื่อง ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส กันบ้างแทบไม่หวัง นิยาย ฟิคชั่นการ์ตูนเรื่อง ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส กันบ้างแทบไม่หวัง : Dek-D.com - Writer

    ฟิคชั่นการ์ตูนเรื่อง ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส กันบ้างแทบไม่หวัง

    อยากลองอ่านกันกอนว่ามีผลอย่างไรกับการ์ตูนเรื่องนี้อยากรู้ต้องมาอ่านกันก่อนเลยดีกว่าน่ะครับ เรื่องนี้สำคัญมากที่สุด อนุญาตให้เข้ามาดูกันได้น่ะครับช่วงนี้ยังจะลำบากก็ไม่เท่ากันน่ะครับ

    ผู้เข้าชมรวม

    2,998

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    17

    ผู้เข้าชมรวม


    2.99K

    ความคิดเห็น


    7

    คนติดตาม


    1
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  31 มี.ค. 53 / 11:53 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    ก่อนอื่นเราจะสรุปกันให้จบลงกันก่อนว่า การ์ตูนเรื่องนี้ยังนึกไม่ออกล่ะก็ต้องมาอ่านกันก่อนเลยครับ

    ไม่น่าเชื่อที่สุดแทบไม่มีแน่นอน
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

      ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส (「テニスの王子様」 Tenisu no Ouji-sama?) หรือ ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส เจ้าชายลูกสักหลาด (ชื่อในฉบับอะนิเมะ) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวกีฬาเทนนิสแต่งโดย ทาเคชิ โคโนมิ ลงตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ ปัจจุบันมีฉบับรวมเล่มออกมาถึงเล่ม 42 เล่มจบ หลังจากลงตีพิมพ์ได้ไม่นานก็ได้รับความนิยมอย่างสูงจนถูกสร้างเป็นอะนิเมะ เกม ละครเพลง และภาพยนตร์ และเมื่อไม่นานมานี้ อ.ทาเคชิ โคโนมิ ได้ประกาศหลังจากจบ เดอะ ปริ้น ออฟ เทนนิสซี่รี่ย์แรกของเขา ว่าจะเขียนซี่รี่ย์ยาวเป็นภาคต่อของ เดอะ ปริ้น ออฟ เทนนิส เป็นภาคที่สองที่จะได้ออกสู่สายตาชาวญี่ปุ่นในเดือนมีนาคมปีหน้านี้
      เรื่องย่อ
      เอจิเซ็น เรียวมะย้ายเข้ามาเรียนที่มัธยมต้นโรงเรียนเซชุนหรือในภาษาญี่ปุ่นคือ"เซซุน งาคุเอน"(青春学園, Seishun Gakuen) หรือเรียกสั่นๆว่า"เซงาคุ"(Seigaku 青学) โรงเรียนดังที่มีชื่อเสียงด้านเทนนิส เป็นหนุ่มน้อยอัจฉริยะ แชมป์ 4 สมัยซ้อนในการแข่งขันรุ่นจูเนียร์ของอเมริกา เรียวมะเข้าชมรมได้ไม่ทันไร ก็ไต่เต้าขึ้นเป็นนักกีฬาตัวจริงที่เป็นเด็กปี 1 คนแรกในชมรม ภายหลังจากได้เป็นตัวแทนแล้วได้ไปร่วมแข่งขันของโรงเรียนไปแข่งในระดับเขต และในรอบชิงชนะเลิศได้เจอกับโรงเรียนฟุโดมิเนะ
      จบการแข่งขันโรงเรียนเซชุนได้เป็นตัวแทนแข่งขันในระดับโตเกียวร่วมกับโรงเรียนฟุโดมิเนะ โดยมีโรงเรียนทั้งหมด 108 โรงเรียนร่วมแข่งขัน การแข่งขันได้แบ่งออกเป็น 4 บล็อก โดยโรงเรียนเซชุนได้เจอกับโรงเรียนเซนต์รูดอล์ฟ ในขณะที่ฟุโดมิเนะเจอกับโรงเรียนเฮียวเทใน ในรอบแปดทีมสุดท้าย และผลการจับคู่ในรอบสี่ทีมสุดท้ายได้แก่

      จบการแข่งขัน 5 โรงเรียนจากเขตโตเกียวได้ไปร่วมการแข่งขันในระดับภูมิภาคคันโต โดยโรงเรียนเฮียวเทเป็นโรงเรียนที่ห้าที่ได้สิทธิร่วมแข่งขัน

      ในการแข่งขันระดับคันโตมีทีมร่วมแข่งขันทั้งหมด 16 ทีม (โดยชื่อในวงเล็บเป็นชื่อจังหวัด)

      รอบ 16 ทีมรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
                    
            
        สาธิตริคไค (คานางาวะ) ชนะผ่าน
       กิงขะ (โตเกียว)  ถอนตัว 
        สาธิตริคไค 
          
        นาชิคาริ (โทชิงิ) 
        คาซึนามิ (จิบะ)  
        สาธิตริคไค  3
         ฟุโดมิเนะ  0 
        ฟุโดมิเนะ (โตเกียว) 
        อิโตกุรุมะ (คานางาวะ)  
        ฟุโดมิเนะ  3
         ยามาบุกิ  1 
        อิคาริ (ยามานาชิ) 
        ยามาบุกิ (โตเกียว)  
        สาธิตริคไค  2
         เซชุน  3
        โรกคาขุ (จิบะ) 5
        โองุจิมินามิ (กุนมะ)  0 
        โรกคาขุ 
          
        คิวโย (โทชิงิ) 
        ไอฮารา 1 (คานางาวะ)  
        โรกคาขุ  0
         เซชุน  3 อันดับ 3
        โจเซโชนัง (คานางาวะ) 2
        มิโดริยามะ (ไซตามะ) 3 
        โจเซโชนัง  1  ฟุโดมิเนะ  3
        เซชุน  3   โรกคาขุ  2
        เฮียวเท (โตเกียว)  2
        เซชุน (โตเกียว)  3

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×