Lisa118 of Journey to the Weaith
เฉินเสียนจวงเป็นพระถังซำจั๋ง เอาชนะความยากลำบาก 81 ครั้ง และในที่สุดก็บรรลุการตรัสรู้หลังจากประสบความสำเร็จในอัญเชิญพระไตรปิฏกศักดิ์สิทธิ์!
ผู้เข้าชมรวม
904
ผู้เข้าชมเดือนนี้
24
ผู้เข้าชมรวม
พระถังซำจั๋ง เฉินเสียนจวง อัญเชิญพระไตรปิ แฟนตาซี เกิดใหม่ ต่างโลก ดราม่า พระเอกเทพ ผจญภัย พระเอกเก่ง สงคราม เรื่องสั้น
พระถังซัมจั๋ง กับภารกิจพิชิตพระไตรปิฎก
พระถังซัมจั๋ง ไม่ได้เป็นเพียงตัวละครที่ถูกจินตนาการขึ้นจากวรรณกรรมเรื่อง ไซอิ๋ว ที่คนไทยคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี แต่เป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในพงศาวดารจีน มีอายุอยู่ในช่วงประมาณ ค.ศ.602-664 สมัยพระเจ้าถังไทจงฮ่องเต้องค์ที่ 2 ของราชวงศ์ถัง พระถังซัมจั๋ง มีชื่อจริงว่า "ภิกษุเสวียนจั้ง" ในปี ค.ศ. 622 เมื่อมีอายุได้20 ปี ท่านอุปสมบทเป็นพระภิกษุ และได้เดินทางศึกษาพระธรรมไปในหลายเมือง จนรู้สึกว่าพระคัมภีร์ที่มีอยู่ในจีนเวลานั้น ไม่ค่อยเพียงพอ เนื้อความแปลได้ไม่ครบถ้วนและตีความไม่ถูกต้อง ท่านจึงเกิดความปรารถนาอย่างแรงกล้า ที่จะเดินทางไปศึกษาพระธรรมที่อินเดีย อันเป็นแหล่งต้นกำเนิดดั้งเดิมของพระพุทธศาสนา พระถังซัมจั๋ง ได้ศึกษาพระธรรมในอินเดีย ที่มหาวิทยาลัยนาลันทา นานถึง 17 ปี รวมระยะเวลาไปกลับทั้งสิ้น 19 ปี เป็นระยะทางกว่า 5 หมื่นลี้ ส่งให้จดหมายเหตุชิ้นนี้ของท่านนั้นอุดมไปด้วยข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับดินแดนในเอเชียกลางและเอเชียใต้เมื่อพันกว่าปีที่แล้วกว่า 138 แว่นแคว้น โดยในจำนวนนี้มี 110 แคว้นที่ท่านเดินทางไปด้วยตนเอง ขณะที่อีก 28 แคว้นนั้นท่านบันทึกจากคำบอกเล่าของผู้อื่น นับเป็นบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่ง
พระถังซัมจั๋ง กับภารกิจพิชิตพระไตรปิฎก
โดยสาเหตุที่พระเสวียนจั้ง ได้ตัดสินใจออกเดินทางไปจาริกแสวงบุญ อัญเชิญพระคัมภีร์พระไตรปิฎกที่ชมพูทวีป สาเหตุสำคัญก็สืบเนื่องมาจาก พุทธศาสนาในประเทศจีนในสมัยนั้น มีการตีความคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแตกต่างกันหลากแขนง หลายแนวทางของแต่ละสำนัก ส่วนหนึ่งก็มาจากพุทธศาสนาที่เดินทางมาจากอินเดีย สู่ประเทศจีนในยุคแรกเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.568 ในยุคสมัยฮั่นตะวันออก ผ่านเส้นทางสายไหมอันทุรกันดาร ทำให้เอกสาร คัมภีร์ ตำรา คำสอนต่างๆ นั้นส่วนมาก ก็มักจะเป็นการตีความ การจดจำ ของสงฆ์ที่เดินทางไปชมพูทวีป แล้วกลับมาเผยแผ่ธรรมะนั่นเอง จึงทำให้ธรรมะต่างๆ มีการตีความ เจือความคิดเห็นส่วนตัวของสงฆ์เหล่านั้นลงไปในคำสอนของตนเองด้วย จึงทำให้พระเสวียนจั้ง เมื่อศึกษาพระคัมภีร์จนแตกฉานมากขึ้นก็บังเกิดข้อสงสัยขึ้นมากมาย แต่เมื่อหาคำตอบแล้วกลับพบว่า แต่ละสำนัก ต่างก็ตีความไปคนละทิศละทาง
ซึ่งเส้นทางที่ท่านใช้ในการเดินทางสู่อินเดีย คือเส้นทางสายไหม โดยเป็นเส้นทางการค้าของโลกยุคโบราณ เป็นเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างจีนและกรุงโรม โดยมีจุดเริ่มต้นที่เมืองซีอาน ผ่านดินแดนเอเชียกลางในปัจจุบัน และอีกหลายแคว้นของอินเดียโบราณตลอดการเดินทางต้องผ่านปัญหาและอุปสรรคมากมายจนเกือบเอาชีวิตไม่รอดในหลายครั้ง ด้วยความที่แผ่นดินจีนในขณะนั้นยังไม่มีเสถียรภาพ องค์ฮ่องเต้ถังไทจง (หลี่ซื่อหมิน) จึงควบคุมการเดินทางเข้าออกนครฉางอานอย่างเข้มงวด ทั้งนี้เมื่อ พระเสวียนจั้ง ได้ขออนุญาตเดินทางออกจากฉางอานไปยังอินเดีย ถึง 3 ครั้งแต่ไม่สำเร็จ ท่านจึงแอบลักลอบเดินทางออกจากนครฉางอานโดยผิดกฎหมายในเวลาค่ำคืน เพื่อหลบหลีกการไล่ล่าของทหารตรวจคนเข้าเมืองโดยเดินทางอย่างโดดเดี่ยว พระเสวียนจั้ง มิได้มีเงินถุงเงินถังจากราชสำนักเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปอัญเชิญไตรปิฎกถึงอินเดีย มิได้มีผู้ช่วยเหลือเป็น เห้งเจีย ตือโป๊ยก่าย ซัวเจ๋ง แต่อย่างใด อย่างไรก็ตามอุปสรรคที่ท่านต้องประสบพบนั้นกลับมิได้ลดน้อยไปกว่า เรื่องราวที่วรรณกรรมระบุแม้แต่น้อย ท่านเสวียนจั้ง เพียงมี ความศรัทธาต่อศาสนาพุทธ เป็นเข็มทิศ เป็นแรงผลักดันให้เท้าก้าวเดิน ฝ่าฟันข้ามดินแดนอันแห้งแล้งมุ่งไปยังจุดหมายข้างหน้าที่สายตามิอาจมองเห็น
พระถังซัมจั๋ง เดินทางกลับจีนพร้อมทั้งนำพระไตรปิฎกฉบับภาษาสันสกฤตกลับมาด้วย ท่านเดินทางถึงเมืองหลวงของจีนคือ เมืองฉางอาน ในปี พ.ศ. 1188ในสมัย พระเจ้าถังไทจง พระองค์ทรงเป็นปราชญ์ผู้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา จึงทรงอุปถัมภ์การแปลพระไตรปิฎก จากภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีน และ พระเจ้าถังไทจงได้ทรงอาราธนาพระถังซัมจั๋งให้เขียนบันทึกการเดินทางไปอินเดีย จึงปรากฏหนังสือเรื่อง ต้าถังซีวีจี้ ในรัชกาลต่อมาพระเจ้าถังเกาจง พระองค์ทรงรับอุปถัมภ์งานแปลพระไตรปิฎกต่อ พระถังซัมจั๋งดำเนินงานต่อไปจนมรณภาพในปี พ.ศ. 1207 แต่การเผยแพร่ศาสนาพุทธของ พระเสวียนจั้งก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เนื่องจากในราชสำนักขณะนั้นฮ่องเต้ยังคงยึดถึง ลัทธิและคำสอนของขงจื๊อเป็นหลัก โดย กว่าที่จะกล่อมองค์ฮ่องเต้ให้หันมานับถือศาสนาพุทธได้นั้น พระเสวียนจั้งก็ต้องใช้เวลากว่า 20 ปี ตั้งแต่ ฮ่องเต้ถังไทจง เรื่อยมาจนถึงพระราชโอรส ฮ่องเต้ถังเกาจง”
(พระเจ้าถังไท่จง)
ในเวลาต่อมาด้วยการอุทิศตนของ พระเสวียนจั้ง ท่านได้แปลพระไตรปิฎกฉบับดั้งเดิมให้เป็นภาษาจีน จำนวนมากถึง 75 เล่มสมุด 1,335 ม้วน ซึ่งในปัจจุบัน พระไตรปิฎกฉบับแปลโดย พระเสวียนจั้ง ดังกล่าวก็ยังคงใช้กันอย่างแพร่หลายในวงพุทธศาสนาของประเทศจีน
การเปรียบเทียบจิตของคนเรา กับ ตัวละครแต่ละตัว สอดแทรกความรู้ในพระไตรปิฎกให้กับผู้อ่าน
ไซอิ๋ว เป็นนิยายคลาสสิกของจีน แต่งขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1590 ช่วงราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดย
อู๋เฉิงเอิน นั่นคือนิยายเรื่องนี้เขียนหลังพระถังซัมจั๋งถึงพันปี คำว่า ไซอิ๋ว แปลว่า Journey to the West แปลตรงตัวว่า บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก ไซอิ๋วเป็นเรื่องของการเดินทางของ พระถังซำจั๋ง ไปยังชมพูทวีป หรืออินเดีย เพื่ออัญเชิญคัมภีร์พระพุทธศาสนา โดยมีสัตว์ 3 ตัวเป็นเพื่อนร่วมทาง คือ เห้งเจีย (ลิง) ตือโป๊ยก่าย (หมู) และซัวเจ๋ง (ปีศาจปลา) ซึ่งระหว่างการเดินทางต้องพบกับการขัดขวางของเหล่าปิศาจมากมาย ด้วยเนื้อหาที่เป็นการผจญภัย และมีสัตว์เป็นตัวเอก ทำให้ไซอิ๋วได้รับความนิยมจากหมู่เยาวชนมากที่สุดในวรรณกรรมเอกทั้ง 4 เรื่อง เป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน พระถังซัมจั๋งในนิยายเป็นตัวละครสมมติ มีความแตกต่างจากพระเสวียนจั้งในประวัติศาสตร์จริง พระถังซัมจั๋งในนิยายนั้นบรรยายว่าแต่เดิมแซ่เฉิน มีชื่อว่ากังลิ้ว หรือผู้ลอยมากับแม่น้ำ มีนามในทางสงฆ์ว่าเสวียนจั้ง ได้รับฉายาซัมจั๋ง ฮ่องเต้ถังไท่จงพระราชทานแซ่ถัง เป็นพระจินฉานจื่อ สาวกองค์ที่สองของพระยูไล กลับชาติมาเกิด ในนิยายซ่อนนัยว่าเป็นธาตุไฟ เขาเป็นบุตรที่ติดครรภ์ บิดามารดาประสบกับเคราะห์กรรมที่เลวร้าย เติบโตอยู่ในวัดตั้งแต่เด็ก เมื่อโตขึ้นออกบวชที่วัดฮั่วเซิงซื่อ สุดท้ายย้ายมาจำวัด ปฏิบัติธรรมอยู่ในวัดที่มีชื่อเสียงในนครหลวง พระถังขยันพากเพียร สติปัญญาสูงส่ง มีความโดดเด่นท่ามกลางหมู่สงฆ์ สุดท้ายได้รับเลือกโดยฮ่องเต้ถังไท่จง เข้าพิธีสาบานตนเป็นพี่น้องกัน ออกเดินทางสู่ตะวันตก เพื่ออัญเชิญพระคัมภีร์ระหว่างการเดินทาง พระถังซัมจั๋งรับศิษย์ด้วยกันสามคน : ซุนหงอคง ตือโป๊ยก่าย ซัวเจ๋ง สุดท้ายผลบุญครบถ้วนสมบูรณ์ ได้รับการแต่งตั้งจากพระยูไล เป็นบุญกุศลพุทธะ มือถือคฑาเก้าห่วงที่เจ้าแม่กวนอิมประทานให้ กายห่มจีวรศักดิ์สิทธิ์
หงอคง แปลงกายได้ เหาะเหิน เดินอากาศได้ ทำอะไรก็ได้ เพราะหงอคง คือจิตคนเรา ที่เป็นลิง ไม่อยู่นิ่ง คิดไปเรื่อย แค่คุมให้ตามลมหายใจยังยากเลย ดังนั้น ถ้าเราคุมหงอคงได้ …. การไปชมพูทวีปจะง่ายขึ้น … เป็นต้น และเมื่อไหร่ก็ตามที่เราโกรธ – โทสะ เราจะเหมือนหงอคง แผลงฤทธิ์ พังพินาศ ราบเป็นหน้ากลอง แต่หงอคงแพ้อะไร โดนขังไว้ที่อะไร ใช่แล้ว แพ้ฝ่ามือยูไล โดนขังไว้ที่เขา 5 นิ้ว ฝ่ามือยูไล และเขา 5 นิ้ว แทน ขันธ์ 5 ต่อให้จิตแน่แค่ไหนสุดท้ายก็ไม่พ้นขันธ์ 5 ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ นอกจากนี้หงอคงยังมีกระบองวิเศษจัดการปีศาจได้ตลอด กระบองนั้นแทนปัญญา แต่ทว่า มีจิต กับปัญญา แค่นั้นมักเกิดปัญหา พระยูไลจึงประทานมงคล มารัดหัวไว้ ให้พระถังคอยดูแล มงคลนั้นก็แทน “สติ” ซึ่งมงคลเป็นรัดเกล้า 3 ห่วงคล้องกัน แทนไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกข์ขัง อนัตตา ปีศาจแต่ละตัว แทนกิเลสที่เราต้องค่อยกำจัดออกไป ตอนเจอกันครั้งแรกหงอคง บอกพระถังฯ ว่าจะไปชมพูทวีปผมพาอาจารย์ตีลังกาไปได้ 7 ทีถึง มามัวเสียเวลาเดินทำไมกัน ไม่เข้าใจ พระถังฯ จึงบอกว่า ไม่ได้ ต้องเดินไปเท่านั้นปริศนาธรรมข้อนี้บอกว่า จิต+ปัญหา ฟังเขาเล่า ฟังเขาบอก คิดเอาเองก็บอกง่าย แปบเดียวก็ไปถึงนิพพานละ เช่น มีคนเล่าให้ฟังอริยสัจ 4 คือ ทางดับทุกข์ ฟังเข้าใจละ แต่จริงๆ แล้วไม่เข้าใจ ธรรมมะต้องลงมือปฎิบัติ เหมือนหงอคงบอกตีลังกาไป 7 ที มันไปไม่ถึง ต้องค่อยๆ เดินไป ศึกษาไป ปฎิบัติไป ถึงจะถึงโป๊ยก่าย คือศีล 8 และ ซัวเจ๊ง คือสมาธิ การมี ศรัทธา + ปัญญา + ศีล + สมาธิ จึงจะพ้นทุกข์ แต่บางครั้งปีศาจบางตัวก็เก่งเหลือเกินต้องไปตามเจ้าแม่กวนอิมมาช่วย เจ้าแม่กวนอิม คือ เมตตา ปัญญา + เมตตา จะกลายเป็นสัมมาทิฏฐิ ธรรมชั้นสูงซึ่งปราบกิเลสได้เสมอ แต่เจ้าแม่กวนอิม มักให้หงอคงลองสู้จนหมดแรงก่อน ถึงมาช่วย เหมือนหากมีกิเลสควรให้ปัญญาลองขจัดดูก่อน เกินกำลังแล้วจึงให้เมตตาปล่อยวาง ถ้าเกินกำลังเมตตา เจ้าแม่กวนอิม
ช่วยไม่ไหว คนสุดท้ายที่มักมาช่วย คือ พระยูไล
สิ่งสำคัญที่ควรรู้พระถังซำจั๋งไม่ได้เอาพระพุทธศาสนามหายานไปเผยแผ่ในจีน พระพุทธศาสนามหายานมีอยู่ในจีนอยู่แล้ว พระพุทธศาสนาเข้าสู่จีนตั้งแต่พ.ศ.๖๐๘ ในรัชสมัยของพระเจ้าฮั่นมิ่งตี่อินเดียขณะนั้น เป็นช่วงที่พระพุทธศาสนามหายานรุ่งเรืองถึงขีดสุด เพราะพระเจ้าหรรษวรรธนะผู้ครองกันยากุพชะซึ่งมีอำนาจสูงสุดในอินเดียครั้งนั้น ทรงเลื่อมใส และให้ความอุปถัมภ์อยู่ พระถังซำจั๋งท่านเดินทางมาอินเดียก็เพราะว่า สมัยนั้นการแปลพระคัมภีร์พระไตรปิฎก สูตร และอรรถกถาหรือปกรณ์วิเสสของฝ่ายสาวกยานและมหายาน ซึ่งแพร่หลายในประเทศจีนขณะนั้น มีปัญหาเรื่องความบกพร่องด้านภาษา เพราะพระที่แปลก็เป็นชาวอาเซียกลาง หรือชาวอินเดียที่เดินทางมาจีน แล้วท่านก็ไม่แตกฉานภาษาจีนเพียงพอ ทำให้ปัญหาความถูกต้อง และอรรถรสทางภาษาเสียไป บางคัมภีร์มีผู้แปลหลายสำนวนทำให้ยากจะรู้ว่าของใครถูกกว่ากัน บางคัมภีร์ก็แปลแบบเก็บความ ทำให้สูญเสียเนื้อหาสาระบางส่วนไป ยกตัวอย่างเช่นมหาปรัชญาปารมิตาสูตร (ไต้ปัวเยียกปอล่อมิกตอเก็ง) ที่พระกุมารชีพ (คิวหมอล้อชิน) แปลเอาไว้ ก็แปลโดยอรรถ คือแปลแบบสรุปความเอา พระถังซำจั๋งท่านเห็นข้อผิดพลาดและข้อบกพร่องในการแปลคัมภีร์ ก็เลยทำให้ท่านต้องการเดินทางมาอินเดียเพื่อศึกษาภาษาสันสกฤตให้แตกฉาน และนำคัมภีร์มหายานรวมถึงสาวกยานที่เกื้อกูลต่อการศึกษาพุทธปรัชญา ที่เป็นต้นฉบับสันสกฤตแท้ ๆ เพื่อนำกลับไปที่ประเทศจีน แล้วก็แปลเป็นภาษาจีน โดยเฉพาะคัมภีร์โยคาจารภูมิศาสตร์ซึ่งเชื่อกันว่า เป็นผลงานของพระอริยเมตตรัยโพธิสัตว์ ได้เผยความนัยให้พระอสังคะได้เขียนขึ้น อีกจุดประสงค์หนึ่ง ก็เพื่อศึกษาพุทธปรัชญาโยคาจาร จากพระอาจารย์ศีลภัทรซึ่งเป็นอธิการบดีแห่งนาลันทาสมัยนั้น ท่านเป็นพระอาจารย์ใหญ่ของโยคาจารในสมัยนั้น พระถังซำจั๋งนอกจากจะเรียนภาษาสันสกฤตจนแตกฉานแล้ว ยังเชี่ยวชาญจนถึงขั้นแต่งปกรณ์เป็นภาษาสันสกฤตจนเป็นที่ชื่นชมของพระอาจารย์ในนาลันทาและพุทธศาสนิกชนในอินเดียครั้งนั้น คัมภีร์ที่ท่านแต่งเป็นภาษาสันสกฤตสองคัมภีร์ คือ ชุมนุมวิถีธรรม (ห้วยจงหลุง)- เป็นคัมภีร์ประมวลหลักธรรมในนิกายมาธยมิก หรือสุญญตวาท กับโยคาจารวิชญาณวาท เพื่อให้เห็นว่าสองนิกายนี้ไม่แตกต่างกัน และอีกคัมภีร์หนึ่งคือ กำจัดมิจฉาทิฏฐิ (ผั่วอั่กเกี๋ยนหลุน) ซึ่งมีเนื้อหาอธิบายข้อโต้แย้งต่อบุคคลผู้กล่าวปรักปรำพุทธศาสนามหายาน เมื่อท่านศึกษาในอินเดียจนจบแล้วจึงเดินทางกลับไปประเทสจีนพร้อมทั้งนำพระคัมภีร์พุทธศาสนามหายาน และสาวกยาน ไปประเทศจีนเพื่อกลับไปแปลเป็นภาษาจีน โดยได้รับพระบรมราชูปถัมภ์การแปลจากพระเจ้าถังไท่จง และพระเจ้าถังเกาจง ท่านทำงานแปลจนสุดท้ายได้แปลคัมภีร์มหาปรัชญาปารมิตาสูตรที่พระกุมารชีพแปลแบบย่อความ แต่พระถังซำจั๋งแปลแบบครบทุกเนื้อหาไม่ตัดย่อความใด ๆ เลย สำเร็จเป็นบุคคลแรก มหาปรัชญาปารมิตาสูตร ผู้ที่แปลจนจบสมบูรณ์มีเพียงพระถังซำจั๋งเพียงรูปเดียว
Journey To The Wealth จาก PG SLOT
เกมสล็อต Journey To The Wealth จากทางค่าย pg slot เป็นเกมที่ได้นำเรื่องราวอัญเชิญพระไตรปิฏกการกลับชาติมาเกิดของพระพุทธเจ้า เจ้าแม่กวนอิมมอบหมายให้ผู้บริสุทธิ์เฉินเสียนจวงไปอัญเชิญพระไตรปิฏกยังชมพูทวีป พระองค์จึงทรงประทานนามให้เฉินเสียนจวงเป็นพระถังซำจั๋ง ระหว่างการเดินทางพระถังซำจังถังซำจั๋งปลดปล่อยซุนหงอคงจากเขาอู่สิงซาน ระหว่างทางสยบไป๋หลง ไป๋หลงจำแลงร่างเป็นม้าเพื่อเป็นพาหนะเดินทางของถังซำจั๋ง ณ บ้านสกุลเกา ถังซำจั๋งรับตือโป๊ยก่ายเป็นศิษย์คนที่สอง และ ณ แม่น้ำหลิวซาเหอ ถังซำจั๋งรับซัวเจ๋งเป็นศิษย์คนที่สาม ต่างก็ตกลงที่จะปกป้องพระถังซำจั๋งจากสัตว์ประหลาดและปีศาจระหว่างการเดินทาง ด้วยความช่วยเหลือจากลูกศิษย์ทั้ง 3 ของเขา พวกเขาเดินทางผ่านภูเขาและกระแสน้ำที่โหมกระหน่ำ เอาชนะความยากลำบาก 81 ครั้ง และในที่สุดก็บรรลุการตรัสรู้หลังจากประสบความสำเร็จในอัญเชิญพระไตรปิฏกศักดิ์สิทธิ์!
" การเดินทางสู่ความมั่งคั่ง " เกมสล็อตจาก พีจี สล็อต เป็นเกมที่มีรูปแบบเกมแบบ 5 รีล 3 แถว ประกอบไปด้วยสัญลักษณ์ทั้งหมด 10 สัญลักษณ์ อาทิเช่น มือทองคำ ,พระไตรปิฎก, พระถังซัมจั๋ง , หงอคง , ตือป๊วยก่าย , ซัวเจ๋ง , อักษร A , K , Q และ J ซึ่งแต่ละสัญลักษณ์มีอัตราการจ่ายที่ไม่เท่ากัน ตั้งแต่ 1 บาท ไปจนถึง 150 บาท เพราะเกมสล็อตเป็นเกมที่การชนะไม่แน่นอน ในการสปินเกมใน 1 ครั้ง อาจจะชนะมากกว่า 1 เส้นไลน์ก็เป็นได้ จำนวนเงินที่ลงเดิมพันก็มีผล หากลงเดิมพันเยอะจำนวนเงินรางวัลที่ได้ตอบแทนก็เยอะตามไปด้วย
บทความที่เกี่ยวข้อง :
https://lisa118th.blogspot.com
https://lisa118ph.blogspot.com
https://lisa118kasino.blogspot.com
https://lisa118http.blogspot.com
เนื้อเรื่อง
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ผลงานอื่นๆ ของ lisa118SP ดูทั้งหมด
ผลงานอื่นๆ ของ lisa118SP
ความคิดเห็น