วิศวะ ราชมงคลอีสาน ขอนแก่น - นิยาย วิศวะ ราชมงคลอีสาน ขอนแก่น : Dek-D.com - Writer
×

    วิศวะ ราชมงคลอีสาน ขอนแก่น

    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขตขอนแก่น ก่อตั้งจากสัญญาความร่วมมอระหว่างรัฐบาลไทย และรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ในนาม วิทยาลัยเทคนิคไทย - เยอรมัน ขอนแก่น (2506-2518)

    ผู้เข้าชมรวม

    3,293

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    1

    ผู้เข้าชมรวม


    3.29K

    ความคิดเห็น


    3

    คนติดตาม


    0
    จำนวนตอน :  0 ตอน
    อัปเดตล่าสุด :  1 ก.ย. 66 / 17:57 น.
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

    ประวัติวิทยาเขตขอนแก่น ก่อนจะมาเป็น คณะวิศวกรรมศาสตร์


    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ก่อนจะมาเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นในปัจจุบันวิทยาเขตฯ ก่อตั้งจากสัญญาความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยรัฐบาล สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ในนาม วิทยาลัยเทคนิคไทย เยอรมัน ขอนแก่น(2506-2518) ปี 2518 เข้าร่วมเป็นวิทยาเขตหนึ่งในสังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา ได้รับพระราชทานนามเป็นสถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล ในปี 2531 ปี 2518 มีพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.2548 ให้สถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล(เดิม) จัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัย รวม 9 แห่ง แต่ละแห่งมีลักษณะเป็นนิติบุคคล ปัจจุบันวิทยาเขตขอนแก่น เป็นวิทยาเขตหนึ่ง ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาทั้งในระดับต่ำกว่าปริญญา และระดับปริญญาตรี ในอนาคตมีเป้าหมายที่จะจัดการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษา ที่จัดการเรียนการสอนในระดับ อาชีวศึกษา สายช่างอุตสาหกรรม เมื่อ40 ปีเศษ ที่ผ่านมาภายใต้คำขวัญ "ฝีมื ระเบียบวินัย น้ำใจ" ชื่อเสียงของเทคนิคไทย-เยอรมัน ขอนแก่น เป็นที่ประจักษ์ ในด้านฝีมือ ความรู้ความสามารถ ศิษย์ของเรา เป็นที่ยอมรับของสถานประกอบการทั้งในภาครัฐและเอกชน 

    วิสัยทัศน์ :

      "จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ผลิตบุคลากรและบัญฑิต ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่มีความรู้ความสามารถในเชิงปฏิบัติการ สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สู่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต การบริการ สังคม ชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ เพิ่มขีดความสามารถเชิงการแข่งขัน ด้านบริการ วิชาการ แบบ บูรณาการและเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ ทางการศึกษา บริหารจัดการ ด้วยหลักธรรมาภิบาล สริมสร้างคุณภาพ ที่ดีให้กับบุคลากร 
      ประกอบด้วยปัจุจบันประกอบด้วยวิศวกรรมสาขาต่างดังนี้
       1.วิศวกรรมไฟฟ้า
       2.วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
       3.วิศวกรรมเครื่องกล
       4.วิศวกรรมอุตสาหการ
       5.วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร(วิศวเกษตร)
       6.วิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ(วิศวกรรมอาหาร)
       7.วิศวกรรมโลหะการ(วิศวกรรมวัสดุ)
      http://www.eng.rmuti.ac.th
      และด้วยการผลิตวิศวกรออกไปไม่ตำกว่าปีละ 500 คน
      ด้วยภายใต้คำที่ว่า
      "จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ผลิตบุคลากรและบัญฑิต ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่มีความรู้ความสามารถในเชิงปฏิบัติการ สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สู่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต การบริการ สังคม ชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ เพิ่มขีดความสามารถเชิงการแข่งขัน ด้านบริการ วิชาการ แบบ บูรณาการและเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ ทางการศึกษา บริหารจัดการ ด้วยหลักธรรมาภิบาล สริมสร้างคุณภาพ ที่ดีให้กับบุคลากร 
      "จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ผลิตบุคลากรและบัญฑิต ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่มีความรู้ความสามารถในเชิงปฏิบัติการ สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สู่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต การบริการ สังคม ชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ เพิ่มขีดความสามารถเชิงการแข่งขัน ด้านบริการ วิชาการ แบบ บูรณาการและเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ ทางการศึกษา บริหารจัดการ ด้วยหลักธรรมาภิบาล สริมสร้างคุณภาพ ที่ดีให้กับบุคลากร 

      เป็นผู้นำการจัดการศึกษา และพัฒนา กำลังคนด้าน วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สายปฏิบัติการ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ประยุกต์ความรู้เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ เชิงการแข่งขัน สู่ภาคอุตสาหกรรม ภายใต้การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น