[苗麗花] เหมยลี่หว่า สตรีดอกไม้ - นิยาย [苗麗花] เหมยลี่หว่า สตรีดอกไม้ : Dek-D.com - Writer
×

    [苗麗花] เหมยลี่หว่า สตรีดอกไม้

    ‘เหมยลี่หว่า’ หญิงสาวจากแดนเหนือพบรักกับชายหนุ่มปริศนาอย่าง ‘หยินลู่หย่า’ โดยที่เธอไม่รู้ว่าเขาคือฮ่องเต้!

    ผู้เข้าชมรวม

    1,501

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    20

    ผู้เข้าชมรวม


    1.5K

    ความคิดเห็น


    6

    คนติดตาม


    22
    จำนวนตอน :  2 ตอน
    อัปเดตล่าสุด :  31 มี.ค. 63 / 19:57 น.

    อีบุ๊กจากนิยาย ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

    "ข้า...เหมยลี่หว่า ท่านล่ะบุรุษ ท่านมีนามว่าอะไร"
    "ข้าชื่อ หยินลู่หย่า เป็นแค่ชายธรรมดาที่ผ่านทางมาเท่านั้น..."





    เหมยลี่หว่า 
    หญิงสาวจากแดนเหนือที่แสนใจดี มีปิ่นดอกไม้ที่สามารถเสกอะไรก็ได้ติดตัวไว้ตลอดเวลาเพราะเป็นของตระกูลที่ถูกรับมอบจากสวรรค์ นางเดินทางเข้าเมืองแต่กลับเจอชายหนุ่มปริศนาเป็นลมตรงหน้า โดยที่นางไม่รู้ว่านั่นคือฮ่องเต้!



    หยินลู่หย่า
    ฮ่องเต้หนุ่มมากฝีมือหน้าตาหล่อเหลา แต่ตอนที่ออกล่าโจรกลุ่มใหญ่กลับถูกศรธนูอาบยาพิษยิงเข้ากลางหลังดังปั้ก!เมื่อชายตาเห็นรถม้าของหญิงสาวก็กระโจนปาดหน้าไปเป็นลมอยู่ตรงนั้น-_- และเขาได้รับความช่วยเหลือจากนางโดยไม่บอกว่าตนเป็นฮ่องเต้เพราะยังไม่เชื่อใจนาง(-_-*)



    ฮ่องเต้มี 4 คน
    1.หยินลู่หย่า  แดนเหนือ
    2.หวางชีเชียน  แดนตะวันตก
    3.ลู่เทียน  แดนตะวันออก
    4.หยางตว่าเฉิน แดนใต้
    .
    .
    .
    .
    .
    สัตว์ประจำตัวเหมยลี่หว่า  เสือ
    ดอกไม้ประจำตัว  อิงฮวา (ซากุระ)
    สีประจำตัว  ชมพู  เขียว

    สัตว์ประจำตัวหยินลู่หย่า  เหยี่ยว
    อาวุธประจำตัว ดาบ
    สีประจำตัว  ดำ น้ำเงิน



    ▪▪花女故事 ▪▪ Flower girl story

    เรื่องราวของสาวดอกไม้
    ที่ไต่เต้าสู่การเป็น 'ฮองเฮา'



    เหมยลี่หว่า อิงฮวาแดนเหนือ
    .
    .
    .
    .


    หลี่เซี่ยวชวี ยูจินเชียงแดนตะวันตก
    .
    .
    .
    .


    หวังเจิ่นหลี่ เยียนเหว่ยฮวาตะวันออก
    .
    .
    .
    .


    เหว่หรงเฉิน เหมยก๊วยแดนใต้
    .
    .
    .
    .
    เหล่าคุณหนูสี่ทิศที่กลายเป็นหญิงคนรักของฮ่องเต้
    ความรัก ความเศร้า ความผิดหวัง
    ติดตามได้ที่นี่ สตรีดอกไม้



    ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เสือขาว

    เสือขาว สัตว์ประจำกาย เหมยลี่หว่า
    เสือขาว ประจำทิศตะวันตก สีขาว ธาตุทอง ฤดูใบไม้ร่วง

    มังกรเขียว สัตว์ประจำกาย หลี่เซี่ยวชวี
    มังกรเขียว ประจำทิศตะวันออก สีเขียว ธาตุไม้ ฤดูใบไม้ผลิ

    หงส์แดง สัตว์ประจำกาย หวังเจิ่นหลี่
    หงส์แดง ทิศใต้ สีแดง ธาตุไฟ ฤดูร้อน

    เต่าดำ สัตว์ประจำกาย เหว่หรงเฉิน 
    เต่าดำ ประจำทิศเหนือ สีดำ ธาตุน้ำ ฤดูหนาว


    ***สัตว์แต่ละตัวได้รับแรงบรรดาลใจจากฮวงจุ้ยซินแซลั๋ว โดยแต่ละตัวจะไม่ได้เกิดตรงกับที่ๆอยู่ในปัจจุบัน เพราะถ้าหากกลับไปอยู่ถิ่นกำเนิดจะทำให้พลังสลายไป


    เสือขาว 
    เสือเป็นเจ้าแห่งสัตว์ป่าทั้งมวล เนื่องจากประจำทิศตะวันตก ธาตุทอง มีสีขาว จึงกลายเป็น เสือขาว เป็นตัวแทนของอำนาจบารมี ความเคารพยำเกรงและการทหาร เนื่องจากเสือเป็นนักล่า กินเนื้อ ดังนั้นจึงมีภาพลักษณ์เป็นเทพเจ้าแห่งศึกสงครามและการล่าสังหารอีกด้วย สถานที่หรือชัยภูมิในสมัยโบราณหากมีชื่อของเสือขาว จึงมักมีนัยสำคัญทางทหาร นอกจากนี้ยังใช้ในการตั้งชื่อหน่วยกำลังรบ และใช้เป็นตราสัญลักษณ์ในการบัญชาการเคลื่อนทัพ หรือสลักเป็นลวดลายคู่กับมังกรเขียวบนบานประตูทั้งสองข้างเพื่อป้องกันสิ่งชั่วร้าย 


    มังกรเขียว
           ชาวจีนโบราณถือว่ามังกรเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจกษัตริย์ และเป็นสัตว์มงคลชนิดหนึ่ง นับตั้งแต่ยุคของจักรพรรดิเหลืองเป็นต้นมา มังกรก็กลายเป็นตัวแทนของผู้มีเชื้อสายจีนทั้งมวล โดยเฉพาะเมื่อถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น ปรากฏภาพวาดและตำนานเกี่ยวกับหวงตี้หรือจักรพรรดิเหลืองที่ทรงมังกรเป็นพาหนะเหินบินสู่ฟ้า มังกรจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของจักรพรรดิผู้ยิ่งยงอีกด้วย


           
    หงส์แดง
           หงส์เป็นเจ้าแห่งปักษา และเป็นสัตว์มงคลชนิดหนึ่งของจีนมาแต่โบราณ มีรูปลักษณ์เดิมมาจากนกหลากหลายชนิด อาทิ ไก่ฟ้า ห่านฟ้า นกกระจอก เหยี่ยวนกกระจอก นกนางแอ่น ฯลฯ ในตำนานกล่าวว่า หงส์มีรูปคล้ายไก่ฟ้า มีสีขนสลับลายเป็นประกาย มีนิสัยรักสะอาด ช่างเลือก (มีความละเอียดอ่อนประณีต) เนื่องจากรูปลักษณ์เป็นนก ประจำทิศใต้ ธาตุไฟ สีแดง จึงได้ชื่อว่า หงส์แดง     ภายหลังได้รับอิทธิพลจากความเชื่อลัทธิเต๋า จากสัตว์เทพค่อยวิวัฒนาการเป็นรูปลักษณ์ของครึ่งคนครึ่งสัตว์ จากนั้นกลายเป็นเทพที่มีรูปเป็นหญิง 


     เต่าดำ 
      
    เต่าดำหรือเสวียนอู่ มีรูปลักษณ์เป็นเต่า แต่มีเกล็ดคล้ายงู มีลักษณะร่วมกันของเต่าและงู บ้างใช้สัญลักษณ์เป็นรูปเต่าที่มีงูพันรัดกลางลำตัว แต่เดิมมาจากการใช้กระดองเต่าในการทำนายทายทัก ซึ่งหมายถึงการให้เต่านำคำถามลงไปสู่โลกแห่งวิญญาณเพื่อนำคำตอบกลับมายังโลกมนุษย์ อีกทั้งกระดองเต่ามีสีดำ จึงปรากฏในรูปเต่าดำ ภายหลังได้มีการขยายความออกไป โดยเห็นว่าเต่าอาศัยอยู่กับน้ำ ทั้งแม่น้ำลำคลองน้อยใหญ่จนถึงท้องทะเลกว้าง จึงได้รับการขนานนามให้เป็นเทพเจ้าแห่งน้ำ อีกทั้งเต่ามีอายุยืนนาน จึงเป็นสัญลักษณ์แทนการมีอายุวัฒนะ




    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    คำนิยม Top

    ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

    คำนิยมล่าสุด

    ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

    ความคิดเห็น