ผ้าไหมไทย..คุณค่าสู่สากล - ผ้าไหมไทย..คุณค่าสู่สากล นิยาย ผ้าไหมไทย..คุณค่าสู่สากล : Dek-D.com - Writer

    ผ้าไหมไทย..คุณค่าสู่สากล

    ผ้าไหมไทย..คุณค่าสู่สากล

    ผู้เข้าชมรวม

    836

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    1

    ผู้เข้าชมรวม


    836

    ความคิดเห็น


    0

    คนติดตาม


    0
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  16 ก.ย. 49 / 18:44 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ
      ผ้าไหมไทย... คุณค่าสู่สากล ที่มาจาก http://www.pooyingnaka.com ผ้าไหม ภูมิปัาไทย ก้าวไกลสู่ตลาดโลก การทอผ้าไหม เป็นอุตสาหกรรมของคนไทย ภาคอีสาน มานานแล้ว สตรีชาวอีสานเมื่อหมดหน้าทำนา จะมานั่งล้อมวง สาวไหม ปั่นและย้อมเส้นไหม ทอเป็นผืนเพื่อเก็บไว้ใช้หรือขาย ต่อสร้างผลงานสืบสานศิลปะไทยและเสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรงไปพร้อมกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ และกว่าที่จะได้ผ้าไหมผืน สวยๆ สัผืนมาตัดเย็บต้องผ่านขั้นตอนการเลี้ยงไหม ตัวไหมคล้าย หนอนตัวเล็กๆ กินใบหม่อนเป็นอาหารมีอายุประมาณ 45 วัน จึงเริ่มชักใยกลายเป็นรังไหม การสาวไหม เมื่อตัวไหมชักใยได้ 2 วัน จึงเริ่มเก็บรับไหมและต้องสาวไหมให้เสร็จภายใน 7 วัน เพราะตัวดักแด้จะกัด รังออกมาทำให้ได้เส้นไหมที่ไม่สมบูรณ์ เส้นไหมที่ได้มี 3 ชนิด คือ ไหมต้น มีสีออกเหลืองอมแสดเส้น ให่และไม่เรียบ ไหมกลาง เส้นไหมขนาดกลางเรียบเสมอกันมีปุ่มเล็กน้อยนิยมนำมาตัดเสื้อผ้า เพราะไม่ นิ่มมากเสื้อผ้าที่ได้มีรูปทรงสวยงาม เส้นไหมมีเนื้อละเอียดสีทองดอกบวบ เมื่อนำมาทอจะได้ ผ้าไหมที่มีเงาสวยเนื้อผ้าแน่น เมื่อหยดน้ำลงไปจะเกาะเป็นเม็ดอยู่บนเนื้อผ้า ไม่สามารถซึมเข้าไปได้ทันที จึงมีราคาแพง การย้อมไหม ผ้าไหมสมัยก่อนไม่ค่อยมีคุณภาพ เพราะสีตก จากเทคนิคการย้อมที่ล้าสมัยที่ล้าสมัย และใช้สีย้อมที่ได้จากธรรมชาติ เช่น เปลือกไม้ต่างๆ แต่ในปัจจุบันมีสีวิทยาศาสตร์ ทำให้สีไม่ตกและมีคุณ ภาพดีขึ้น การทอผ้าไหมปัจจุบันใช้ "กี่กระตุก" ช่วยให้ทอง่ายและรวดเร็ว ซึ่งลายต่างๆ จะเกิดจากการ มัดย้อมเส้นไหม เรียกว่า "มัดหมี่" ให้เป็นลายก่อนนำมาทอ การเรียกชือผ้าไหมเรียกตามลายผ้า เช่น ซิ่น หมี่ ซิ่นปูม ซิ่นเชิง ซิ่นยก ลายดอกพิกุลฯ ในอดีตไหมไทยไม่ที่รู้จักแพร่หลายในตลาดโลกมากนัก แม้กระทั่งคนไทยยังไม่นิยมนำผ้าไหมมาตัด เย็บเสื้อผ้า เพราะผ้าไหมถูกตีกรอบให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้ให่เท่านั้น จนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อจิม ทอมสัน ชาวอเมริกันฟื้นฟูอุตสาหกรรมไหมไทย ขึ้นมาใหม่ทำให้ผ้าไหมขึ้นมาใหม่ทำให้ผ้าไหมไทยเป็น ที่รู้จักของโลกภายนอกมากยิ่งขึ้น ประกอบกับที่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถทรงมีพระราชดำริ ในการก่อตั้งศูนย์ศิลปาชีพ เพื่อส่งเสริมงานฝีมือภูมิปัาไทย ผ้าไหม "มัดหมี่" จึงเป็นศิลปะอีกแขนง หนึ่งที่ทรงให้ความสำคั และได้รับส่งเสริมพัฒนาในทุกขั้นตอนการผลิต ทรงส่งเสริมให้มีผลิตออก มาหลายๆ รูปแบบทั้งแบบผืนยาวเรียบลายแถบ ยกดอก ภาพพิมพ์สมเด็จฯท่านทรงเป็นแบบอย่างในการ เผยแพร่ชื่อเสียงของผ้าไหมไทยโดยการที่ทรงฉลองพระองค์ด้วยผ้าไหมไทย ไม่ว่าจะอยู่ในประเทศหรือ เสด็จต่างประเทศก็ตาม ผ้าไหมมัดหมี่นอกจากจะมีลวดลายที่สวยงาม แล้วยังมีความทนทานสามารถสวมใส่ได้หลายปี หาก รู้จักวิธีการรักษาที่ถูกต้อง ปัจจุบันดีไซเนอร์ชั้นนำทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศนิยมนำผ้าไหมทั้งผ้าพื้น และผ้ามัดหมี่ไปตัดเย็บ จัดแสดงแฟชั่นโชว์คอลเลคชั่นผ้าไหมให้เห็นกันอยู่บ่อยๆ ซึ่งผ้าไหม 2 เส้น นิยม ตัดชุดสำหรับสุภาพสตรี ส่วนของผ้าไหม 4 เส้น นำมาตัดเป็นเสื้อพระราชทาน สำหรับสุภาพบุรุษหรือตัด ชุดสูทเป็นการออกแบบผสมผสานความงามของผ้าไหมไทยกับการตัดเย็บอย่างประณีตในรูปแบบสากล เพื่อช่วยเสริมให้บุคลิกของผู้สวมใส่ดูสวยงามไม่ล้าสมัย เหมาะสมกับคนทุกวัยและทุกโอกาส จากการเริ่ม ต้นแค่ภูมิปัาของชาวชนบทในภาคอีสานของไทย เดี๋ยวนี้ผ้าไหมไทยกลายเป็นสินค้าสำคัของประเทศ และเป็นที่ต้องการของตลาดโลกไปแล้ว... เอามาให้อ่าน เพื่อความเป็นไทย จงภูมิใจที่เราได้เกิดมาเป็นคนไทย จงทำเพื่อไทย โพสด้วยนะก๊าบ...

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×