ไม้สัก - ไม้สัก นิยาย ไม้สัก : Dek-D.com - Writer

    ไม้สัก

    ้สัก เป็นไม้ผลัดใบขนาดใหญ่ มีลำต้นปลาย ตรง มักมีพูพอนบริเวณโคนต้น เรือนยอดกลม ลำต้นมีความสูงตั้งแต่ 20 เมตรขึ้นไป

    ผู้เข้าชมรวม

    592

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    0

    ผู้เข้าชมรวม


    592

    ความคิดเห็น


    0

    คนติดตาม


    1
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  4 เม.ย. 49 / 21:42 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

      ลักษณะทั่วไป

      ้สัก เป็นไม้ผลัดใบขนาดใหญ่    มีลำต้นปลาย
      ตรง มักมีพูพอนบริเวณโคนต้น เรือนยอดกลม 
      ลำต้นมีความสูงตั้งแต่ 20 เมตรขึ้นไป มีเปลือก
      หนาสีเทาหรือน้ำตาลอ่อน แกมเทา   มีใบขนาด
      ใหญ่ กว้าง  20-30 ซม. ยาว 30-40 ซม. ดอกมี
      ีขนาดเล็กสีขาวนวล ออกเป็นช่อขนาดใหญ่
      บริเวณปลายกิ่งในช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
      ผลสักรูปร่างค่อนข้างกลม   ขนาดเส้นผ่าศูนย์
      กลาง1-2 ซม. ผลหนึ่ง ๆจะมีเมล็ด 1-4 เมล็ด
      โดยทั่วไปมักจะเรียกผลสักว่า “เมล็ดสัก”
      ซึ่งเมื่อแก่จัดจะเป็นสีน้ำตาล

      ลักษณะเนื้อไม้สักจะมีสีน้ำตาลทอง (เรียกว่าสักทอง)   ถึงสีน้ำตาลแก่ และมักจะมีเส้นสีน้ำตาลแก่
      ่แทรก (เรียกว่าสักทองลายดำ) เนื้อไม้มีเสี้ยนตรง เนื้อหยาบ แข็งปานกลาง เลื่อยไสกบ ตกแต่งง่าย
      ไม่ค่อยยึดหดหรือบิดงอง่ายเหมือนไม้ชนิดอื่น      มีความทนทานต่อการทำลายของมอดและปลวก
      ตลอดจนเชื้อราได้ดี จึงมีความทนทาน ตามธรรมชาติสูง และมีลวดลายสวยงาม


      ในด้านการใช้ประโยชน์ไม้สัก ได้มีการแบ่งคุณลักษณะของไม้สักโดยพิจารณาจากสี
      ของเนื้อไม้ การตกแต่ง ความแข็ง ความเหนียวของเนื้อไม้ออกเป็น 5 ชนิด คือ
      1. สักทอง        - เนื้อไม้เป็นสีน้ำตาลทอง เสี้ยนตรง ตกแต่งง่าย
      2. สักหิน     - เนื้อไม้สีน้ำตาลหรือสีจาง ตกแต่งง่าย
      3. สักหยวก - เนื้อไม้สีน้ำตาลอ่อน หรือสีจาง ตกแต่งง่าย
      4. สักไข่     - เนื้อไม้สีน้ำตาลเข้มปนเหลือง มีไขปนยากแก่การตกแต่งและทาสี
      5. สักขี้ควาย - เนื้อไม้สีเขียวปนน้ำตาล น้ำตาลดำ ดูเป็นสีเลอะ ๆ

      ซึ่งลักษณะความแตกต่างของเนื้อไม้ดังกล่าวนี้เป็นเพียงประสบการณ์ของผู้ทำไม้เท่านั้น
      ยังไม่อาจพิสูจน์ได้ว่ามีผลมาจากพันธุกรรม หรือเกิดจากสภาพแวดล้อมที่มันขึ้นอยู่ เช่น
      ชนิดของป่า ดิน หิน ปริมาณน้ำฝน ฯลฯ

                            
      การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติและถิ่นกำเนิด

      ไม้สัก มีถิ่นกำเนิดอยู่ในตอนใต้ของประเทศอินเดีย พม่า ไทย ลาว (ส่วนที่ติดภาคเหนือของไทย)
      และอินโดนีเซีย สำหรับประเทศไทยนั้น ไม้สักจะขึ้นอยู่เป็นส่วนใหญ่ ในป่าเบญจพรรณทาง
      ภาคเหนือ และบางส่วนของภาคกลางและเชียงราย ลำปาง พะเยา แพร่ น่าน ตาก สุโขทัย
      กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี และกาญจนบุรี

      ไม้สัก ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่เป็นภูเขา หรือตามพื้นราบแต่ดินระบายน้ำได้ดี น้ำไม่ท่วมขัง ซึ่งอาจจะ
      เป็นดินร่วนปนทรายหรือดินที่มีความลึกมาก ๆ โดยเฉพาะดินที่ เกิดจากหินปูน ซึ่งแตกแยกผุพัง
      จนกลายเป็นดินร่วนลึก ไม้สักจะเจริญเติบโตดีมาก

      ไม้สัก มักขึ้นอยู่เป็นกลุ่มไม้สักล้วน ๆ เป็นหย่อม ๆ หรืออาจขึ้นปะปนอยู่กับไม้เบญจพรรณอื่น ๆ
      เช่น ไม้แดง ไม้ประดู่ มะค่าโมง ชิงชัน ตะแบก ฯลฯ โดยมีไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ เป็นไม้ชั้นล่าง

      ได้มีการนำไม้สักไปปลูกนอกเขตธรรมชาติอย่างแพร่หลายมาเป็นเวลานานแล้ว เช่น ที่พุแค
      จ.สระบุรี (2495), ดงบังอี่ จ.มุกดาหาร (2499), ไทยโยค จ.กาญจนบุรี (2497), วังสะพุง จ.เลย
      (2498), ช่องเม็ก อ.พิบูลย์มังสาหาร จ.อุบลราชธานี (2499), ดงลาน อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น (2500),
      อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (2502), ชัยบาดาล ลพบุรี (2507), เขาสอยดาว จ.จันทบุรี (2509) ฯลฯ
      ซึ่งก็ให้ผลแตกต่างกันไปตามลักษณะพื้นที่ที่นำไปปลูก

      ไม้สัก ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่เป็นภูเขา หรือตามพื้นราบแต่ดินระบายน้ำได้ดี น้ำไม่ท่วมขัง ซึ่งอาจจะ
      เป็นดินร่วนปนทรายหรือดินที่มีความลึกมาก ๆ โดยเฉพาะดินที่ เกิดจากหินปูน ซึ่งแตกแยกผุพัง
      จนกลายเป็นดินร่วนลึก ไม้สักจะเจริญเติบโตดีมาก

      ไม้สัก มักขึ้นอยู่เป็นกลุ่มไม้สักล้วน ๆ เป็นหย่อม ๆ หรืออาจขึ้นปะปนอยู่กับไม้เบญจพรรณอื่น ๆ
      เช่น ไม้แดง ไม้ประดู่ มะค่าโมง ชิงชัน ตะแบก ฯลฯ โดยมีไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ เป็นไม้ชั้นล่าง

      ได้มีการนำไม้สักไปปลูกนอกเขตธรรมชาติอย่างแพร่หลายมาเป็นเวลานานแล้ว เช่น ที่พุแค
      จ.สระบุรี (2495), ดงบังอี่ จ.มุกดาหาร (2499), ไทยโยค จ.กาญจนบุรี (2497), วังสะพุง จ.เลย
      (2498), ช่องเม็ก อ.พิบูลย์มังสาหาร จ.อุบลราชธานี (2499), ดงลาน อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น (2500),
      อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (2502), ชัยบาดาล ลพบุรี (2507), เขาสอยดาว จ.จันทบุรี (2509) ฯลฯ
      ซึ่งก็ให้ผลแตกต่างกันไปตามลักษณะพื้นที่ที่นำไปปลูก


      ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
      ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตของไม้สัก ซึ่ง
      อาจใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาคัดเลือก
      พื้นที่ในการปลูกไม้สัก พอสรุปได้ดังนี้

      1. ไม้สักจะเจริญเติบโตได้ดีในพื้นที่ชุ่มชื้น
      มากกว่าที่แห้งแล้ง ปริมาณน้ำฝน ที่เหมาะ
      แก่การเจริญเติบโตและมีเนื้อไม้งดงามของ
      ไม้สักอยู่ระหว่าง 1,000-2,000 มม. ต่อปี
      และฝนไม่ทิ้งช่วงนานเกินไปใน ระหว่าง
      ฤดูการเจริญเติบโต นอกจากนี้จะต้องมีช่วง
      ฤดูแล้งที่ชัดเจน 3-4 เดือน

      ้สัก เป็นไม้ผลัดใบขนาดใหญ่    มีลำต้นปลาย
      ตรง มักมีพูพอนบริเวณโคนต้น เรือนยอดกลม 
      ลำต้นมีความสูงตั้งแต่ 20 เมตรขึ้นไป มีเปลือก
      หนาสีเทาหรือน้ำตาลอ่อน แกมเทา   มีใบขนาด
      ใหญ่ กว้าง  20-30 ซม. ยาว 30-40 ซม. ดอกมี
      ีขนาดเล็กสีขาวนวล ออกเป็นช่อขนาดใหญ่
      บริเวณปลายกิ่งในช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
      ผลสักรูปร่างค่อนข้างกลม   ขนาดเส้นผ่าศูนย์
      กลาง1-2 ซม. ผลหนึ่ง ๆจะมีเมล็ด 1-4 เมล็ด
      โดยทั่วไปมักจะเรียกผลสักว่า “เมล็ดสัก”
      ซึ่งเมื่อแก่จัดจะเป็นสีน้ำตาล

      ลักษณะเนื้อไม้สักจะมีสีน้ำตาลทอง (เรียกว่าสักทอง)   ถึงสีน้ำตาลแก่ และมักจะมีเส้นสีน้ำตาลแก่
      ่แทรก (เรียกว่าสักทองลายดำ) เนื้อไม้มีเสี้ยนตรง เนื้อหยาบ แข็งปานกลาง เลื่อยไสกบ ตกแต่งง่าย
      ไม่ค่อยยึดหดหรือบิดงอง่ายเหมือนไม้ชนิดอื่น      มีความทนทานต่อการทำลายของมอดและปลวก
      ตลอดจนเชื้อราได้ดี จึงมีความทนทาน ตามธรรมชาติสูง และมีลวดลายสวยงาม


      ในด้านการใช้ประโยชน์ไม้สัก ได้มีการแบ่งคุณลักษณะของไม้สักโดยพิจารณาจากสี
      ของเนื้อไม้ การตกแต่ง ความแข็ง ความเหนียวของเนื้อไม้ออกเป็น 5 ชนิด คือ
      1. สักทอง        - เนื้อไม้เป็นสีน้ำตาลทอง เสี้ยนตรง ตกแต่งง่าย
      2. สักหิน     - เนื้อไม้สีน้ำตาลหรือสีจาง ตกแต่งง่าย
      3. สักหยวก - เนื้อไม้สีน้ำตาลอ่อน หรือสีจาง ตกแต่งง่าย
      4. สักไข่     - เนื้อไม้สีน้ำตาลเข้มปนเหลือง มีไขปนยากแก่การตกแต่งและทาสี
      5. สักขี้ควาย - เนื้อไม้สีเขียวปนน้ำตาล น้ำตาลดำ ดูเป็นสีเลอะ ๆ

      ซึ่งลักษณะความแตกต่างของเนื้อไม้ดังกล่าวนี้เป็นเพียงประสบการณ์ของผู้ทำไม้เท่านั้น
      ยังไม่อาจพิสูจน์ได้ว่ามีผลมาจากพันธุกรรม หรือเกิดจากสภาพแวดล้อมที่มันขึ้นอยู่ เช่น
      ชนิดของป่า ดิน หิน ปริมาณน้ำฝน ฯลฯ

                            
      การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติและถิ่นกำเนิด

      ไม้สัก มีถิ่นกำเนิดอยู่ในตอนใต้ของประเทศอินเดีย พม่า ไทย ลาว (ส่วนที่ติดภาคเหนือของไทย)
      และอินโดนีเซีย สำหรับประเทศไทยนั้น ไม้สักจะขึ้นอยู่เป็นส่วนใหญ่ ในป่าเบญจพรรณทาง
      ภาคเหนือ และบางส่วนของภาคกลางและเชียงราย ลำปาง พะเยา แพร่ น่าน ตาก สุโขทัย
      กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี และกาญจนบุรี

      ไม้สัก ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่เป็นภูเขา หรือตามพื้นราบแต่ดินระบายน้ำได้ดี น้ำไม่ท่วมขัง ซึ่งอาจจะ
      เป็นดินร่วนปนทรายหรือดินที่มีความลึกมาก ๆ โดยเฉพาะดินที่ เกิดจากหินปูน ซึ่งแตกแยกผุพัง
      จนกลายเป็นดินร่วนลึก ไม้สักจะเจริญเติบโตดีมาก

      ไม้สัก มักขึ้นอยู่เป็นกลุ่มไม้สักล้วน ๆ เป็นหย่อม ๆ หรืออาจขึ้นปะปนอยู่กับไม้เบญจพรรณอื่น ๆ
      เช่น ไม้แดง ไม้ประดู่ มะค่าโมง ชิงชัน ตะแบก ฯลฯ โดยมีไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ เป็นไม้ชั้นล่าง

      ได้มีการนำไม้สักไปปลูกนอกเขตธรรมชาติอย่างแพร่หลายมาเป็นเวลานานแล้ว เช่น ที่พุแค
      จ.สระบุรี (2495), ดงบังอี่ จ.มุกดาหาร (2499), ไทยโยค จ.กาญจนบุรี (2497), วังสะพุง จ.เลย
      (2498), ช่องเม็ก อ.พิบูลย์มังสาหาร จ.อุบลราชธานี (2499), ดงลาน อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น (2500),
      อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (2502), ชัยบาดาล ลพบุรี (2507), เขาสอยดาว จ.จันทบุรี (2509) ฯลฯ
      ซึ่งก็ให้ผลแตกต่างกันไปตามลักษณะพื้นที่ที่นำไปปลูก

      ไม้สัก ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่เป็นภูเขา หรือตามพื้นราบแต่ดินระบายน้ำได้ดี น้ำไม่ท่วมขัง ซึ่งอาจจะ
      เป็นดินร่วนปนทรายหรือดินที่มีความลึกมาก ๆ โดยเฉพาะดินที่ เกิดจากหินปูน ซึ่งแตกแยกผุพัง
      จนกลายเป็นดินร่วนลึก ไม้สักจะเจริญเติบโตดีมาก

      ไม้สัก มักขึ้นอยู่เป็นกลุ่มไม้สักล้วน ๆ เป็นหย่อม ๆ หรืออาจขึ้นปะปนอยู่กับไม้เบญจพรรณอื่น ๆ
      เช่น ไม้แดง ไม้ประดู่ มะค่าโมง ชิงชัน ตะแบก ฯลฯ โดยมีไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ เป็นไม้ชั้นล่าง

      ได้มีการนำไม้สักไปปลูกนอกเขตธรรมชาติอย่างแพร่หลายมาเป็นเวลานานแล้ว เช่น ที่พุแค
      จ.สระบุรี (2495), ดงบังอี่ จ.มุกดาหาร (2499), ไทยโยค จ.กาญจนบุรี (2497), วังสะพุง จ.เลย
      (2498), ช่องเม็ก อ.พิบูลย์มังสาหาร จ.อุบลราชธานี (2499), ดงลาน อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น (2500),
      อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (2502), ชัยบาดาล ลพบุรี (2507), เขาสอยดาว จ.จันทบุรี (2509) ฯลฯ
      ซึ่งก็ให้ผลแตกต่างกันไปตามลักษณะพื้นที่ที่นำไปปลูก


      ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
      ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตของไม้สัก ซึ่ง
      อาจใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาคัดเลือก
      พื้นที่ในการปลูกไม้สัก พอสรุปได้ดังนี้

      1. ไม้สักจะเจริญเติบโตได้ดีในพื้นที่ชุ่มชื้น
      มากกว่าที่แห้งแล้ง ปริมาณน้ำฝน ที่เหมาะ
      แก่การเจริญเติบโตและมีเนื้อไม้งดงามของ
      ไม้สักอยู่ระหว่าง 1,000-2,000 มม. ต่อปี
      และฝนไม่ทิ้งช่วงนานเกินไปใน ระหว่าง
      ฤดูการเจริญเติบโต นอกจากนี้จะต้องมีช่วง
      ฤดูแล้งที่ชัดเจน 3-4 เดือน

      2. อุณหภูมิที่เหมาะแก่การเจริญเติบโตของไม้สักอยู่ระหว่าง 25-35 ซม.

      3. ไม้สักเป็นไม้ที่ชอบแสงสว่าง ความเข้มของแสงที่เหมาะสม คือ 75-95% ของปริมาณแสง
      กลางวันที่ได้รับเต็มที่ การปลูกไม้สักจึงไม่ควรปลูกในร่มหรือใกล้ต้นไม้ใหญ่ ซึ่งอาจบดบัง
      แสงแดดแก่ต้นที่ปลูกได้

      4. ดินที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของไม้สัก คือ เป็นดินที่มีการระบายน้ำได้ดี ไม่เป็น
      ดินดาน ดินค่อนข้างลึก ดินร่วนปนทรายหรือเป็นดินที่เกิดจากการผุสลายของหินปูน
      และมีค่า pH ประมาณ 6.5-7.5 ส่วนดินที่ไม่เหมาะสมกับการปลูกไม้สัก คือ ดินเหนียว
      ดินลูกรัง ดินทราย และที่มีน้ำท่วมขัง

      5. สภาพภูมิประเทศที่เหมาะสมแก่การเจริญเติบโตของไม้สัก โดยทั่วไปจะมีความสูง
      จากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 700 เมตร เป็นพื้นที่ราบถึงลาดชันเล็กน้อย ไม่เกิน 15%

      การขยายพันธุ์และการผลิตกล้าเพื่อปลูก

      การขยายพันธุ์ไม้สักอาจกระทำได้ทั้งโดยวิธีใช้
      เมล็ดและวิธีไม่อาศัยเมล็ด การใช้เมล็ดขยาย
      พันธุ์เป็นวิธีที่ปฏิบัติโดยทั่วไปในการปลูกสร้าง
      สวนป่า เพราะเป็นวิธีที่ง่ายและเหมาะสม
      สำหรับผลิตกล้าหรือเหง้าสักจำนวนมาก ๆ สิ่ง
      ที่ควรคำนึงถึงก็คือ เมล็ดที่ใช้ควรเก็บมาจาก
      แม่พันธุ์หรือแหล่งพันธุ์ที่มีลักษณะดีหรือได้รับ
      การปรับปรุงพันธุ์มาแล้ว เช่น แหล่งเก็บพันธุ์
      หรือสวนผลิตเมล็ดพันธุ์เท่านั้น

      สำหรับการขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเมล็ดนั้น เป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะยุ่งยาก   ต้องใช้เทคนิค
      และค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง วิธีนี้ประกอบด้วยการติดตา การปักชำ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
      (Tissue Culture)      หากเป็นการขยายพันธุ์จาก ต้นที่ได้รับการคัดเลือกหรือผ่านขบวนการ
      ปรับปรุงพันธุ์มาแล้ว ก็จะได้กล้าไม้ที่มีลักษณะดีโตเร็ว และเมื่อนำไปปลูกจะเจริญเติบโต
      อย่างสม่ำเสมอกันดี มีรูปทรงตามที่ต้องการการขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด จะเริ่มต้นด้วยการ
      เก็บหรือจัดหาเมล็ดพันธุ์ มาเพาะหว่านในแปลงเพาะ    ขนาดกว้างประมาณ 1 เมตร ยาว
      ประมาณ 20 เมตร หรือตามสภาพพื้นที่ โดยใช้เมล็ด 1 ลิตร   ต่อพื้นที่แปลงเพาะ 1 ตาราง
      เมตร โดยพยายามหว่านให้เมล็ดกระจายอย่างสม่ำเสมอ    หรืออาจจะหว่านเป็นแถวใน
      ร่องบนแปลงเพาะซึ่งห่างกัน แถวละ 10 ซม. ก็ได้     แล้วกลบเมล็ดด้วยหน้าดิน หลังจาก
      หว่านเสร็จก็มีการดูแลรักษา โดยการกำจัดวัชพืช ป้องกันโรคและแมลง ลิดใบ และใส่ปุ๋ย
      ตามความจำเป็น
      ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเพาะหว่านเมล็ด
      สัก คือ ช่วงเดือนเมษายน ถึงพฤษภาคม
      หลังจากที่เมล็ดเริ่มงอก หากเกิดฝนทิ้งช่วง
      ก็ควรรดน้ำช่วงอย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้
      กล้าไม้ตายหรือชงักการเจริญเติบโต
      กล้าไม้สักจะงอกและเจริญเติบโตอยู่
      ในแปลงเพาะเป็นเวลาประมาณ 1 ปี
      แล้วจึงถอนขึ้นมาตัดแต่งให้เป็นเหง้า
      โดยตัดส่วนของลำต้นออกให้เหลือตา
      1-2 คู่ หรือยาวประมาณ 1-2 ซม.พร้อมทั้งตัดรากแขนง
      และปลายรากแก้วออก   เหลือแต่ส่วนของรากแก้วยาว
      ประมาณ 15 ซม.          ซึ่งเมื่อตัดแต่งแล้วจะเรียกว่า
      “เหง้าสัก”    สำหรับใช้ในการปลูกต่อไป      ขนาดของ
      เหง้าที่เหมาะสมสำหรับปลูก    ควรมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
      ตรงคอรากประมาณ 1-2  ซม.    สำหรับเหง้าขนาดเล็ก
      ควรนำไปปักชำในถุงพลาสติกเพื่อให้แตกเป็นต้นกล้า
      ก่อน แล้วจึงนำไปปลูกต่อไป
      สำหรับการขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเมล็ดนั้น เป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะยุ่งยาก   ต้องใช้เทคนิค
      และค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง วิธีนี้ประกอบด้วยการติดตา การปักชำ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
      (Tissue Culture)      หากเป็นการขยายพันธุ์จาก ต้นที่ได้รับการคัดเลือกหรือผ่านขบวนการ
      ปรับปรุงพันธุ์มาแล้ว ก็จะได้กล้าไม้ที่มีลักษณะดีโตเร็ว และเมื่อนำไปปลูกจะเจริญเติบโต
      อย่างสม่ำเสมอกันดี มีรูปทรงตามที่ต้องการการขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด จะเริ่มต้นด้วยการ
      เก็บหรือจัดหาเมล็ดพันธุ์ มาเพาะหว่านในแปลงเพาะ    ขนาดกว้างประมาณ 1 เมตร ยาว
      ประมาณ 20 เมตร หรือตามสภาพพื้นที่ โดยใช้เมล็ด 1 ลิตร   ต่อพื้นที่แปลงเพาะ 1 ตาราง
      เมตร โดยพยายามหว่านให้เมล็ดกระจายอย่างสม่ำเสมอ    หรืออาจจะหว่านเป็นแถวใน
      ร่องบนแปลงเพาะซึ่งห่างกัน แถวละ 10 ซม. ก็ได้     แล้วกลบเมล็ดด้วยหน้าดิน หลังจาก
      หว่านเสร็จก็มีการดูแลรักษา โดยการกำจัดวัชพืช ป้องกันโรคและแมลง ลิดใบ และใส่ปุ๋ย
      ตามความจำเป็น
      ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเพาะหว่านเมล็ด
      สัก คือ ช่วงเดือนเมษายน ถึงพฤษภาคม
      หลังจากที่เมล็ดเริ่มงอก หากเกิดฝนทิ้งช่วง
      ก็ควรรดน้ำช่วงอย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้
      กล้าไม้ตายหรือชงักการเจริญเติบโต
      กล้าไม้สักจะงอกและเจริญเติบโตอยู่
      ในแปลงเพาะเป็นเวลาประมาณ 1 ปี
      แล้วจึงถอนขึ้นมาตัดแต่งให้เป็นเหง้า
      โดยตัดส่วนของลำต้นออกให้เหลือตา
      1-2 คู่ หรือยาวประมาณ 1-2 ซม.พร้อมทั้งตัดรากแขนง
      และปลายรากแก้วออก   เหลือแต่ส่วนของรากแก้วยาว
      ประมาณ 15 ซม.          ซึ่งเมื่อตัดแต่งแล้วจะเรียกว่า
      “เหง้าสัก”    สำหรับใช้ในการปลูกต่อไป      ขนาดของ
      เหง้าที่เหมาะสมสำหรับปลูก    ควรมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
      ตรงคอรากประมาณ 1-2  ซม.    สำหรับเหง้าขนาดเล็ก
      ควรนำไปปักชำในถุงพลาสติกเพื่อให้แตกเป็นต้นกล้า
      ก่อน แล้วจึงนำไปปลูกต่อไป

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×