แค่มุมมองที่แตกต่าง - แค่มุมมองที่แตกต่าง นิยาย แค่มุมมองที่แตกต่าง : Dek-D.com - Writer

    แค่มุมมองที่แตกต่าง

    หลายอย่างมันเป็นดังเช่นความฝันและเพียงแค่ผ่านมาแล้วเลยผ่านไปนี้แหละความคิดคน

    ผู้เข้าชมรวม

    911

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    4

    ผู้เข้าชมรวม


    911

    ความคิดเห็น


    2

    คนติดตาม


    0
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  2 มี.ค. 49 / 13:34 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

                         หลายคนบอกว่าผม ทำให้ภาษาของพวกเขาวิบัติ เป็นเพราะผมจริงหรือ ?

      เอาล่ะแต่ว่าผมไม่ได้มาเล่า หรือ มาระบายเรื่องนี้ วันนี้ผมมีเรื่องจะเล่าให้เพื่อนๆๆได้รับรู้

                      เพื่อนเคยสังเกตบ้างหรือเปล่าว่า โลกของเรากำลังเปลี่ยน หายสิ่งเริ่มหยุดหมุน หลายสิ่งเริ่มก้าวเดิน(ไม่ซ้ำกับอันเดิมนะคับ) การก้าวเดินมาของหลากหลายชีวิต การผ่านไปของสิ่งต่างๆทำให้เราแก่กล้าขึ้น หรือว่าเรา อ่อนล้าลงกันแน่ ผมนั่งมองดูสังคมจากสื่อและกระบวนการนำเสนอของสื่อ 

                      หลากหลายแต่ไร้สาระ ครบครันแต่ไม่มีแก่นสาร น่าจะเป็นสโลแกนใหม่ของแต่ละช่องทีวี ผมอาจจะหัวโบราณในสายตาของเพื่อนๆ  เอาล่ะบ่นมามากพอแล้ว ผมมีกลอนมาฝาก

                                     

       

                                                                      (สำหรับผู้เป็นนักศึกษาที่ดี)

                                      อันวิชาความรู้สุดจะหยั่ง                  จะบากบั่นพากเพียรเรียนขยัน

                      จะมุ่งมั่นตรากตรำทุกค่ำวัน                             ตราบตะวันลับฟ้าทะเลจาง

                                      อันวิชาความรู้สุดประเสริฐ               จะก่อเกิดอาชีพบุกเบิกถาง

                      จะฝ่าฟันอุปสรรคเป็นแนวทาง                        ให้ส่องสว่างสุขสันต์ทุกวันไป

                                      ถึงรู้น้อยรู้เพียงหนึ่งให้ลึกซึ้ง          อาจจะครึ่งของปราชญ์อย่าหวั่นไหว

                      อาจจะน้อยเท่าหางอึ่งจงพึ่งใจ                         ว่าเลี้ยงกายไม่อับจนขอใครกิน

                                      อันวิชาใช่ว่าจะเรียนหมด                  ดุจเม็ดผลลุกไม้ตกเกลื่อนดิน

                      ดั่งบุพชาติล่อผู้ผึ้งให้โบยบิน                            จากถิ่นรักรังเล็กสู่ทุ่งใหญ่

                                      เหมือนเด็กน้อยผู้ด้อยในวิชา           จากบ้านมาใฝ่หาฝันในเมืองใหญ่

                      มั่วหลง แสง สี เสียง เมือง สิวิลัย                    จงรู้ไว้เจ้าจะหลงหมดทางไป

                                      ขอให้จงรีบเร่งไขว้คว้าฝัน               เพราะวันคืนไม่เคยคอยรอผู้ใด

                      คิดได้แล้วก็จงเร่งทะยานไป                             ไขว้คว้าฝันเอามาไว้กับตัวตน        

                     

                      และเราก็คงรู้เรื่องว่าตอนนี้ปัญหาของเราคือมองคนละด้านเช่นเรื่องที่ผมจะเล่าตอนไปนี้


                  บางครั้งที่เรานั่งมองดูสิ่งรอบข้าง นั่งลองนึกถึงสิ่งต่างๆที่ได้เจอ คำถามที่นึกขึ้นมาได้และอยากหาคำตอบมากที่สุดตอนนี้ก็คือ

                    ประชาธิปไตย ของไทยหรือของโลกเรามันมีตัวตนจริงๆๆหรือเปล่า ?

                    ประชาธิปไตยมี รากศัพท์ มาจาก ประชาชน+อธิปไตย

                        -ประชาชนคือ คนของรัฐ

                        -รัฐ ประกอบด้วย ดินแดน และ ขอบเขตแห่งอธิปไตย

                    บางครั้ง ผมก็มีความคิดที่ว่า มาร์ก ได้สร้างทฤษฎีเกี่ยวกับชนชั้นกรรมากร เป็นทฤษฎีแห่งความเท่าเทียบกันของทุกคนเพราะมันเป็นพื้นฐานของระบบที่เน้นความเสมอภาค และ เป็นการแบ่งปันที่ดีที่สุด

                    ประชาธิปไตย เป็นระบบที่เน้นเรื่องสิทธิ และ เสรีภาพ อันประกอบด้วยทุกคนมีสิทธิและเสรี ในการกระทำใดๆ ที่ยังไม่ทับซ้อนกับสิทธิและเสรีของคนอื่น

                     -ภายใต้ การปกครอง ระบบประชาธิปไตย มีรัฐบาลที่เป็นกลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่คอยดูแล ผลประโยชน์ของรัฐ และประชาชน

                     -รัฐบาลประกอบด้วยคนเพียง ไม่กี่คนที่มีอำนาจเปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือ เพิ่มเติม สิทธิ และเสรี ของประชาชนทั้งรัฐ

                     อะไรคือประชาธิปไตยกันแน่ ?
                    อะไรคือแนวทางแห่งประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ?  

                   ประชาชนปกครองรัฐ รัฐอยู่ภายใต้การดูแลของรัฐบาล รัฐบาลอยู่ภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี

                            ใครคือผู้มีอำนาจที่แท้จริง ?

                    ระหว่าง นายกรัฐมนตรี และ ประชาชน

                  ใครรู้บ้างว่า วิถีแห่งประชาธิปไตย อยู่ในสถานะใด ? และจะคงอยู่ในรูปแบบใด

                  สุดท้ายแล้วประชาธิปไตยก็คงไม่ต่างไปจาก ลัทธิของมาร์ก

                   หรือจะเป็นเช่นที่ท่าน กฤษณมูรติ กล่าวไว้ว่า

                              "รัฐที่สมบรูณ์แบบยังไม่ได้ถูกคิดค้นขึ้นมา"

                   ล้นเกล้าล้นกระหม่อมรัชกาลที่ 7 ประทานไว้เมื่อครั้งมอบอำนาจ ตรัสว่า

          "ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละราชอำนาจอันเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิม ให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลายของข้าพเจ้า ให้แก่ผู้ใด คณะใดโดยเฉพาะ เพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาด และไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของประชาชน"

                             อำนาจเป็นของใครกันแน่ ?


                                
      ต่างคนต่างมุมมองคับ 

                  บางครั้งที่เรานั่งมองดูสิ่งรอบข้าง นั่งลองนึกถึงสิ่งต่างๆที่ได้เจอ คำถามที่นึกขึ้นมาได้และอยากหาคำตอบมากที่สุดตอนนี้ก็คือ

                    ประชาธิปไตย ของไทยหรือของโลกเรามันมีตัวตนจริงๆๆหรือเปล่า ?

                    ประชาธิปไตยมี รากศัพท์ มาจาก ประชาชน+อธิปไตย

                        -ประชาชนคือ คนของรัฐ

                        -รัฐ ประกอบด้วย ดินแดน และ ขอบเขตแห่งอธิปไตย

                    บางครั้ง ผมก็มีความคิดที่ว่า มาร์ก ได้สร้างทฤษฎีเกี่ยวกับชนชั้นกรรมากร เป็นทฤษฎีแห่งความเท่าเทียบกันของทุกคนเพราะมันเป็นพื้นฐานของระบบที่เน้นความเสมอภาค และ เป็นการแบ่งปันที่ดีที่สุด

                    ประชาธิปไตย เป็นระบบที่เน้นเรื่องสิทธิ และ เสรีภาพ อันประกอบด้วยทุกคนมีสิทธิและเสรี ในการกระทำใดๆ ที่ยังไม่ทับซ้อนกับสิทธิและเสรีของคนอื่น

                     -ภายใต้ การปกครอง ระบบประชาธิปไตย มีรัฐบาลที่เป็นกลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่คอยดูแล ผลประโยชน์ของรัฐ และประชาชน

                     -รัฐบาลประกอบด้วยคนเพียง ไม่กี่คนที่มีอำนาจเปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือ เพิ่มเติม สิทธิ และเสรี ของประชาชนทั้งรัฐ

                     อะไรคือประชาธิปไตยกันแน่ ?
                    อะไรคือแนวทางแห่งประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ?  

                   ประชาชนปกครองรัฐ รัฐอยู่ภายใต้การดูแลของรัฐบาล รัฐบาลอยู่ภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี

                            ใครคือผู้มีอำนาจที่แท้จริง ?

                    ระหว่าง นายกรัฐมนตรี และ ประชาชน

                  ใครรู้บ้างว่า วิถีแห่งประชาธิปไตย อยู่ในสถานะใด ? และจะคงอยู่ในรูปแบบใด

                  สุดท้ายแล้วประชาธิปไตยก็คงไม่ต่างไปจาก ลัทธิของมาร์ก

                   หรือจะเป็นเช่นที่ท่าน กฤษณมูรติ กล่าวไว้ว่า

                              "รัฐที่สมบรูณ์แบบยังไม่ได้ถูกคิดค้นขึ้นมา"

                   ล้นเกล้าล้นกระหม่อมรัชกาลที่ 7 ประทานไว้เมื่อครั้งมอบอำนาจ ตรัสว่า

          "ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละราชอำนาจอันเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิม ให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลายของข้าพเจ้า ให้แก่ผู้ใด คณะใดโดยเฉพาะ เพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาด และไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของประชาชน"

                             อำนาจเป็นของใครกันแน่ ?


                                
      ต่างคนต่างมุมมองคับ 

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×