เสือเขี้ยวดาบ - นิยาย เสือเขี้ยวดาบ : Dek-D.com - Writer
×

    เสือเขี้ยวดาบ

    ผู้เข้าชมรวม

    3,369

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    6

    ผู้เข้าชมรวม


    3.36K

    ความคิดเห็น


    0

    คนติดตาม


    0
    จำนวนตอน :  0 ตอน
    อัปเดตล่าสุด :  1 ก.ย. 66 / 17:57 น.

    อีบุ๊กจากนิยาย ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

    ซากดึกดำบรรพ์เสือเขี้ยวดาบท่าช้าง
    (Homotherium fossil)
    การจำแนก (Classification)
    Class Mammalia
    Order Carnivora
    Family Felidae
    Subfamily The saber - toothed Machairodontinae
    Tribe Homotheriini
    Genus Homotherium

    ชื่อทั่วไป (Common name): เสือเขี้ยวดาบ

    อายุทางธรณีวิทยาโดยทั่วไป (Geological age)
    สมัยไพลโอซีน ไพลสโตซีน (3 0.5 ล้านปีก่อน)

    ลักษณะทั่วไป (Characteristic)
    เสือเขี้ยวดาบ มีรูปร่างขนาดสิงห์โต ขาหน้ายาวกว่าขาหลัง หางสั้น ฟันเขี้ยวบนยาวแบนและโค้งแบบมีดดาบ ฟันเขี้ยวที่ยังไม่สึกจะเห็นลักษณะรอยหยักแบบกลมเล็กๆ (crenulations) บนขอบริมเขี้ยวด้านบาง (Turner, 1997)

    ที่อยู่อาศัย (Habitat)
    ทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชียและอเมริกาเหนือ ในเขตทุ่งหญ้าสเตปส์ ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าดงดิบ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ที่ถ้ำ Friesenhahn พบฟันเสือเขี้ยวดาบในชั้นตะกอนที่มีซากโครงกระดูกของสัตว์กีบคู่มากกว่า 30 ตัว รวมทั้งฟันน้ำนมของช้างแมมมอธอายุน้อยจำนวนมากกว่า 70 ตัว คาดว่าสัตว์ดังกล่าวถูกล่าโดยเสือเขี้ยวดาบ Homotherium ในประเทศจีนพบที่ Zoukoudian ส่วนประเทศไทยพบเขี้ยว(หัก) 1 ชิ้น เป็นแห่งแรกจากบ่อดูดทราย ริมแม่น้ำมูล ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2545

    ซากดึกดำบรรพ์เขี้ยว(หัก) (canine) ของเสือเขี้ยวดาบ
    จากแหล่งบ่อดูดทราย ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา


    ซากดึกดำบรรพ์เสือเขี้ยวดาบท่าช้าง
    (Homotherium fossil)
    การจำแนก (Classification)
    Class Mammalia
    Order Carnivora
    Family Felidae
    Subfamily The saber - toothed Machairodontinae
    Tribe Homotheriini
    Genus Homotherium

    ชื่อทั่วไป (Common name): เสือเขี้ยวดาบ

    อายุทางธรณีวิทยาโดยทั่วไป (Geological age)
    สมัยไพลโอซีน ไพลสโตซีน (3 0.5 ล้านปีก่อน)

    ลักษณะทั่วไป (Characteristic)
    เสือเขี้ยวดาบ มีรูปร่างขนาดสิงห์โต ขาหน้ายาวกว่าขาหลัง หางสั้น ฟันเขี้ยวบนยาวแบนและโค้งแบบมีดดาบ ฟันเขี้ยวที่ยังไม่สึกจะเห็นลักษณะรอยหยักแบบกลมเล็กๆ (crenulations) บนขอบริมเขี้ยวด้านบาง (Turner, 1997)

    ที่อยู่อาศัย (Habitat)
    ทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชียและอเมริกาเหนือ ในเขตทุ่งหญ้าสเตปส์ ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าดงดิบ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ที่ถ้ำ Friesenhahn พบฟันเสือเขี้ยวดาบในชั้นตะกอนที่มีซากโครงกระดูกของสัตว์กีบคู่มากกว่า 30 ตัว รวมทั้งฟันน้ำนมของช้างแมมมอธอายุน้อยจำนวนมากกว่า 70 ตัว คาดว่าสัตว์ดังกล่าวถูกล่าโดยเสือเขี้ยวดาบ Homotherium ในประเทศจีนพบที่ Zoukoudian ส่วนประเทศไทยพบเขี้ยว(หัก) 1 ชิ้น เป็นแห่งแรกจากบ่อดูดทราย ริมแม่น้ำมูล ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2545

    ซากดึกดำบรรพ์เขี้ยว(หัก) (canine) ของเสือเขี้ยวดาบ
    จากแหล่งบ่อดูดทราย ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา


    ซากดึกดำบรรพ์เสือเขี้ยวดาบท่าช้าง
    (Homotherium fossil)
    การจำแนก (Classification)
    Class Mammalia
    Order Carnivora
    Family Felidae
    Subfamily The saber - toothed Machairodontinae
    Tribe Homotheriini
    Genus Homotherium

    ชื่อทั่วไป (Common name): เสือเขี้ยวดาบ

    อายุทางธรณีวิทยาโดยทั่วไป (Geological age)
    สมัยไพลโอซีน ไพลสโตซีน (3 0.5 ล้านปีก่อน)

    ลักษณะทั่วไป (Characteristic)
    เสือเขี้ยวดาบ มีรูปร่างขนาดสิงห์โต ขาหน้ายาวกว่าขาหลัง หางสั้น ฟันเขี้ยวบนยาวแบนและโค้งแบบมีดดาบ ฟันเขี้ยวที่ยังไม่สึกจะเห็นลักษณะรอยหยักแบบกลมเล็กๆ (crenulations) บนขอบริมเขี้ยวด้านบาง (Turner, 1997)

    ที่อยู่อาศัย (Habitat)
    ทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชียและอเมริกาเหนือ ในเขตทุ่งหญ้าสเตปส์ ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าดงดิบ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ที่ถ้ำ Friesenhahn พบฟันเสือเขี้ยวดาบในชั้นตะกอนที่มีซากโครงกระดูกของสัตว์กีบคู่มากกว่า 30 ตัว รวมทั้งฟันน้ำนมของช้างแมมมอธอายุน้อยจำนวนมากกว่า 70 ตัว คาดว่าสัตว์ดังกล่าวถูกล่าโดยเสือเขี้ยวดาบ Homotherium ในประเทศจีนพบที่ Zoukoudian ส่วนประเทศไทยพบเขี้ยว(หัก) 1 ชิ้น เป็นแห่งแรกจากบ่อดูดทราย ริมแม่น้ำมูล ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2545

    ซากดึกดำบรรพ์เขี้ยว(หัก) (canine) ของเสือเขี้ยวดาบ
    จากแหล่งบ่อดูดทราย ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา


    ซากดึกดำบรรพ์เสือเขี้ยวดาบท่าช้าง
    (Homotherium fossil)
    การจำแนก (Classification)
    Class Mammalia
    Order Carnivora
    Family Felidae
    Subfamily The saber - toothed Machairodontinae
    Tribe Homotheriini
    Genus Homotherium

    ชื่อทั่วไป (Common name): เสือเขี้ยวดาบ

    อายุทางธรณีวิทยาโดยทั่วไป (Geological age)
    สมัยไพลโอซีน ไพลสโตซีน (3 0.5 ล้านปีก่อน)

    ลักษณะทั่วไป (Characteristic)
    เสือเขี้ยวดาบ มีรูปร่างขนาดสิงห์โต ขาหน้ายาวกว่าขาหลัง หางสั้น ฟันเขี้ยวบนยาวแบนและโค้งแบบมีดดาบ ฟันเขี้ยวที่ยังไม่สึกจะเห็นลักษณะรอยหยักแบบกลมเล็กๆ (crenulations) บนขอบริมเขี้ยวด้านบาง (Turner, 1997)

    ที่อยู่อาศัย (Habitat)
    ทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชียและอเมริกาเหนือ ในเขตทุ่งหญ้าสเตปส์ ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าดงดิบ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ที่ถ้ำ Friesenhahn พบฟันเสือเขี้ยวดาบในชั้นตะกอนที่มีซากโครงกระดูกของสัตว์กีบคู่มากกว่า 30 ตัว รวมทั้งฟันน้ำนมของช้างแมมมอธอายุน้อยจำนวนมากกว่า 70 ตัว คาดว่าสัตว์ดังกล่าวถูกล่าโดยเสือเขี้ยวดาบ Homotherium ในประเทศจีนพบที่ Zoukoudian ส่วนประเทศไทยพบเขี้ยว(หัก) 1 ชิ้น เป็นแห่งแรกจากบ่อดูดทราย ริมแม่น้ำมูล ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2545

    ซากดึกดำบรรพ์เขี้ยว(หัก) (canine) ของเสือเขี้ยวดาบ
    จากแหล่งบ่อดูดทราย ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา


    ซากดึกดำบรรพ์เสือเขี้ยวดาบท่าช้าง
    (Homotherium fossil)
    การจำแนก (Classification)
    Class Mammalia
    Order Carnivora
    Family Felidae
    Subfamily The saber - toothed Machairodontinae
    Tribe Homotheriini
    Genus Homotherium

    ชื่อทั่วไป (Common name): เสือเขี้ยวดาบ

    อายุทางธรณีวิทยาโดยทั่วไป (Geological age)
    สมัยไพลโอซีน ไพลสโตซีน (3 0.5 ล้านปีก่อน)

    ลักษณะทั่วไป (Characteristic)
    เสือเขี้ยวดาบ มีรูปร่างขนาดสิงห์โต ขาหน้ายาวกว่าขาหลัง หางสั้น ฟันเขี้ยวบนยาวแบนและโค้งแบบมีดดาบ ฟันเขี้ยวที่ยังไม่สึกจะเห็นลักษณะรอยหยักแบบกลมเล็กๆ (crenulations) บนขอบริมเขี้ยวด้านบาง (Turner, 1997)

    ที่อยู่อาศัย (Habitat)
    ทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชียและอเมริกาเหนือ ในเขตทุ่งหญ้าสเตปส์ ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าดงดิบ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ที่ถ้ำ Friesenhahn พบฟันเสือเขี้ยวดาบในชั้นตะกอนที่มีซากโครงกระดูกของสัตว์กีบคู่มากกว่า 30 ตัว รวมทั้งฟันน้ำนมของช้างแมมมอธอายุน้อยจำนวนมากกว่า 70 ตัว คาดว่าสัตว์ดังกล่าวถูกล่าโดยเสือเขี้ยวดาบ Homotherium ในประเทศจีนพบที่ Zoukoudian ส่วนประเทศไทยพบเขี้ยว(หัก) 1 ชิ้น เป็นแห่งแรกจากบ่อดูดทราย ริมแม่น้ำมูล ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2545

    ซากดึกดำบรรพ์เขี้ยว(หัก) (canine) ของเสือเขี้ยวดาบ
    จากแหล่งบ่อดูดทราย ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา


    ซากดึกดำบรรพ์เสือเขี้ยวดาบท่าช้าง
    (Homotherium fossil)
    การจำแนก (Classification)
    Class Mammaia
    Order Carnivora
    Family Felidae
    Subfamily The saber - toothed Machairodontinae
    Tribe Homotheriini
    Genus Homotherium

    ชื่อทั่วไป (Common name): เสือเขี้ยวดาบ

    อายุทางธรณีวิทยาโดยทั่วไป (Geological age)
    สมัยไพลโอซีน ไพลสโตซีน (3 0.5 ล้านปีก่อน)

    ลักษณะทั่วไป (Characteristic)
    เสือเขี้ยวดาบ มีรูปร่างขนาดสิงห์โต ขาหน้ายาวกว่าขาหลัง หางสั้น ฟันเขี้ยวบนยาวแบนและโค้งแบบมีดดาบ ฟันเขี้ยวที่ยังไม่สึกจะเห็นลักษณะรอยหยักแบบกลมเล็กๆ (crenulations) บนขอบริมเขี้ยวด้านบาง (Turner, 1997)

    ที่อยู่อาศัย (Habitat)
    ทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชียและอเมริกาเหนือ ในเขตทุ่งหญ้าสเตปส์ ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าดงดิบ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ที่ถ้ำ Friesenhahn พบฟันเสือเขี้ยวดาบในชั้นตะกอนที่มีซากโครงกระดูกของสัตว์กีบคู่มากกว่า 30 ตัว รวมทั้งฟันน้ำนมของช้างแมมมอธอายุน้อยจำนวนมากกว่า 70 ตัว คาดว่าสัตว์ดังกล่าวถูกล่าโดยเสือเขี้ยวดาบ Homotherium ในประเทศจีนพบที่ Zoukoudian ส่วนประเทศไทยพบเขี้ยว(หัก) 1 ชิ้น เป็นแห่งแรกจากบ่อดูดทราย ริมแม่น้ำมูล ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2545

    ซากดึกดำบรรพ์เขี้ยว(หัก) (canine) ของเสือเขี้ยวดาบ
    จากแหล่งบ่อดูดทราย ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา


    ซากดึกดำบรรพ์เสือเขี้ยวดาบท่าช้าง
    (Homotherium fossil)
    การจำแนก (Classification)
    Class Mammalia
    Order Carnivora
    Family Felidae
    Subfamily The saber - toothed Machairodontinae
    Tribe Homotheriini
    Genus Homotherium

    ชื่อทั่วไป (Common name): เสือเขี้ยวดาบ

    อายุทางธรณีวิทยาโดยทั่วไป (Geological age)
    สมัยไพลโอซีน ไพลสโตซีน (3 0.5 ล้านปีก่อน)

    ลักษณะทั่วไป (Characteristic)
    เสือเขี้ยวดาบ มีรูปร่างขนาดสิงห์โต ขาหน้ายาวกว่าขาหลัง หางสั้น ฟันเขี้ยวบนยาวแบนและโค้งแบบมีดดาบ ฟันเขี้ยวที่ยังไม่สึกจะเห็นลักษณะรอยหยักแบบกลมเล็กๆ (crenulations) บนขอบริมเขี้ยวด้านบาง (Turner, 1997)

    ที่อยู่อาศัย (Habitat)
    ทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชียและอเมริกาเหนือ ในเขตทุ่งหญ้าสเตปส์ ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าดงดิบ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ที่ถ้ำ Friesenhahn พบฟันเสือเขี้ยวดาบในชั้นตะกอนที่มีซากโครงกระดูกของสัตว์กีบคู่มากกว่า 30 ตัว รวมทั้งฟันน้ำนมของช้างแมมมอธอายุน้อยจำนวนมากกว่า 70 ตัว คาดว่าสัตว์ดังกล่าวถูกล่าโดยเสือเขี้ยวดาบ Homotherium ในประเทศจีนพบที่ Zoukoudian ส่วนประเทศไทยพบเขี้ยว(หัก) 1 ชิ้น เป็นแห่งแรกจากบ่อดูดทราย ริมแม่น้ำมูล ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2545

    ซากดึกดำบรรพ์เขี้ยว(หัก) (canine) ของเสือเขี้ยวดาบ
    จากแหล่งบ่อดูดทราย ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา


    ซากดึกดำบรรพ์เสือเขี้ยวดาบท่าช้าง
    (Homotherium fossil)
    การจำแนก (Classification)
    Class Mammalia
    Order Carnivora
    Family Felidae
    Subfamily The saber - toothed Machairodontinae
    Tribe Homotheriini
    Genus Homotherium

    ชื่อทั่วไป (Common name): เสือเขี้ยวดาบ

    อายุทางธรณีวิทยาโดยทั่วไป (Geological age)
    สมัยไพลโอซีน ไพลสโตซีน (3 0.5 ล้านปีก่อน)

    ลักษณะทั่วไป (Characteristic)
    เสือเขี้ยวดาบ มีรูปร่างขนาดสิงห์โต ขาหน้ายาวกว่าขาหลัง หางสั้น ฟันเขี้ยวบนยาวแบนและโค้งแบบมีดดาบ ฟันเขี้ยวที่ยังไม่สึกจะเห็นลักษณะรอยหยักแบบกลมเล็กๆ (crenulations) บนขอบริมเขี้ยวด้านบาง (Turner, 1997)

    ที่อยู่อาศัย (Habitat)
    ทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชียและอเมริกาเหนือ ในเขตทุ่งหญ้าสเตปส์ ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าดงดิบ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ที่ถ้ำ Friesenhahn พบฟันเสือเขี้ยวดาบในชั้นตะกอนที่มีซากโครงกระดูกของสัตว์กีบคู่มากกว่า 30 ตัว รวมทั้งฟันน้ำนมของช้างแมมมอธอายุน้อยจำนวนมากกว่า 70 ตัว คาดว่าสัตว์ดังกล่าวถูกล่าโดยเสือเขี้ยวดาบ Homotherium ในประเทศจีนพบที่ Zoukoudian ส่วนประเทศไทยพบเขี้ยว(หัก) 1 ชิ้น เป็นแห่งแรกจากบ่อดูดทราย ริมแม่น้ำมูล ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2545

    ซากดึกดำบรรพ์เขี้ยว(หัก) (canine) ของเสือเขี้ยวดาบ
    จากแหล่งบ่อดูดทราย ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา


    ซากดึกดำบรรพ์เสือเขี้ยวดาบท่าช้าง
    (Homotherium fossil)
    การจำแนก (Classification)
    Class Mammalia
    Order Carnivora
    Family Felidae
    Subfamily The saber - toothed Machairodontinae
    Tribe Homotheriini
    Genus Homotherium

    ชื่อทั่วไป (Common name): เสือเขี้ยวดาบ

    อายุทางธรณีวิทยาโดยทั่วไป (Geological age)
    สมัยไพลโอซีน ไพลสโตซีน (3 0.5 ล้านปีก่อน)

    ลักษณะทั่วไป (Characteristic)
    เสือเขี้ยวดาบ มีรูปร่างขนาดสิงห์โต ขาหน้ายาวกว่าขาหลัง หางสั้น ฟันเขี้ยวบนยาวแบนและโค้งแบบมีดดาบ ฟันเขี้ยวที่ยังไม่สึกจะเห็นลักษณะรอยหยักแบบกลมเล็กๆ (crenulations) บนขอบริมเขี้ยวด้านบาง (Turner, 1997)

    ที่อยู่อาศัย (Habitat)
    ทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชียและอเมริกาเหนือ ในเขตทุ่งหญ้าสเตปส์ ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าดงดิบ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ที่ถ้ำ Friesenhahn พบฟันเสือเขี้ยวดาบในชั้นตะกอนที่มีซากโครงกระดูกของสัตว์กีบคู่มากกว่า 30 ตัว รวมทั้งฟันน้ำนมของช้างแมมมอธอายุน้อยจำนวนมากกว่า 70 ตัว คาดว่าสัตว์ดังกล่าวถูกล่าโดยเสือเขี้ยวดาบ Homotherium ในประเทศจีนพบที่ Zoukoudian ส่วนประเทศไทยพบเขี้ยว(หัก) 1 ชิ้น เป็นแห่งแรกจากบ่อดูดทราย ริมแม่น้ำมูล ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2545

    ซากดึกดำบรรพ์เขี้ยว(หัก) (canine) ของเสือเขี้ยวดาบ
    จากแหล่งบ่อดูดทราย ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา


    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    คำนิยม Top

    ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

    คำนิยมล่าสุด

    ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

    ความคิดเห็น