ย่อสอบวิทย์ เรื่องสารชีวโมเลกุล ม.5 ปลายภาค
เรื่องสารชีวโมเลกุล
ผู้เข้าชมรวม
12,280
ผู้เข้าชมเดือนนี้
14
ผู้เข้าชมรวม
เนื้อเรื่อง
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
เรื่องสารชีวโมเลกุล
- คาร์โบไฮเดรต ประกอบด้วย คาร์บอน,ไฮโดรโจน,ออกซิเจน
- โปรตีน ประกอบด้วย คาร์บอน,ไฮโดรเจน,ออกซิเจน,ไนโตรเจน
- ไขมัน ประกอบด้วย คาร์บอน,ไฮโดรโจน,ออกซิเจน (กลีเซอรอล+กรด ไขมัน)
- กรดนิวคลีอิก ประกอบด้วย ไนโตรเจน,กำมะถัน,ฟอสฟอรัส เป็นโครงสร้างพื้นฐาน
ความสำคัญของสารชีวโมเลกุล
1.ทำให้ร่างกายอบอุ่น
2.ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
3.ผิวหนังชุ่มชื้น สุขภาพเล็บดี
4.รักษาสมดุลของน้ำและ กรด-เบส
5.สร้างเซลล์เนื้อเยื่อ ,ฮอร์โมน ,เอนไซน์ ระบบภูมิคุ้มกัน
6.ซ่อมแซมส่วนสึกหรอของร่างกาย
สารที่ให้พลังงาน เรียงจากลำดับการดูดซึมของร่างกาย
คาร์โบไฮเดรต >> ไขมัน >> โปรตีน
*สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ วิตามิน ,น้ำ,เกลือแร่
ไขมันและน้ำมัน เป็นสารอินทรีย์ จัดเป็นเอสเทอร์ชนิดหนึ่งที่
เกิดจากกรดไขมัน+กลีเซอรอล เรียกว่า ไตรกลีเซอไรด์
- ความแตกต่าง คือ ไขมันเป็นของแข็งและน้ำมันเป็นของเหลว
- เอสเทอร์ คือ กรดอินทรีย์+แอลกอฮอล์
- กรดไขมันเป็นกรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง คือ ไฮโดรคาร์บอน+กรด
- กรดไขมันจำเป็นคือกรดไขมันที่ร่างกายสร้างเองไม่ได้ ต้องรับจากอาหาร เช่น กรดไลโนเลอิก ,กรดไลโนเลนิก และ กรดอะแรคิโตนิก
กรดไขมัน : แบ่งตามโครงสร้างส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอน(R)
1.กรดไขมันอิ่มตัว : บิวทิริก(เนย) ลอริก(น้ำมันมะพร้าว)
ไบริสติก(เนย) สเตียริก(ไขมันสัตว์)
พาส์มิติก(น้ำมันปาล์ม,น้ำมันสัตว์)
2.กรดไขมันไม่อิ่มตัว : พาส์มิโตเลอิก(ไขมันพืชและสัตว์)
โอเลอิก(น้ำมันมะกอก)
ไลโนเลอิก(น้ำมันลินสีด,น้ำมันถั่วเหลือง)
ไลโนเลนิก(น้ำมันข้าวโพด)
*กรดไขมันอิ่มตัวมีจุดหลอมเหลวสูงกว่ากรดไขมันไม่อิ่มตัว
*น้ำมันมะกอก มีกรดไมริสติสน้อยสุด และมีกรดโอเลอิกมากสุด
*ไขมันจากสัตว์ ประกอบด้วยกรดไขมันอิ่มตัวมากกว่ากรดไขมันไม่อิ่มตัว
สมบัติของไขมันและน้ำมัน
- ไม่ละลายน้ำ แต่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น เฮกเซน,อีเทอร์,แอซีโตน,คาร์บอนเตตระคลอไรด์
- ความหนาแน่นต่ำกว่าน้ำ แต่สูงกว่าเอทานอล(ลอยน้ำ จมในเอทานอล)
- เกิดปฏิกิริยากับโซเดียมไฮดรอกไซด์ >> ได้สบู่
- เกิดการเหม็นหืน เมื่อถูกออกซิเจนในอากาศ , แบคทีเรีย ,ความร้อน(เพราะมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวเยอะ ต้องเติมวิตามิน E ป้องกันการเหม็นหืน)
- เกิดปฏิกริยาไฮโดรลิซิสกับกรดไขมันและกลีเซอรอล
ประโยชน์ของน้ำมันและไขมัน
- เป็นตัวทำละลายวิจามิน A,D,E,K
- ให้พลังงานมากสุด 9.0 กิโลแคลอรี่
- เป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ของสัตว์
หมายเหตุ
*โซเดียมไฮดรอกไซด์(โซดาไฟ)+ไขมัน = สบู่
*ส่วนใหญ่น้ำมันพืชเป็นของเหลวเพราะมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวมาก
*กรดไขมันไม่อิ่มตัวมากกว่าอิ่มตัวจะดีต่อการบริโภค
*การแปลงสภาพโปรตีนเกิดจาก : ความร้อน, สารละลายกรด-เบส,
เอทานอล ทำให้โปรตีนตกตะกอน , ไม่ละลายน้ำและแข็งตัว
โปรตีน
หน้าที่: เป็นเอนไซม์ > เร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต
เป็นฮอร์โมน > ควบคุมการทำงานของร่างกายในระบบ
ต่างๆ
เป็นแอนติบอดี > ทำลายสิ่งแปลกปลอมในร่างกาย
เป็นเซลล์ของกล้ามเนื้อ เล็บและผม
- หน่วยที่เล็กสุดของโปรตีน คือ กรดอะมิโน เชื่อมกันด้วย พันธะ
เนปไทด์
- การทดสอบโปรตีนให้ใช้สารละลายไบยูเร็ตทดสอบ โปรตีนจะเปลี่ยนเป็นสีม่วง
- เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส >> ได้กรดอะมิโน
โปรตีน > พอลิเพปไทด์ > ไดเพปไทด์ > กรดอะมิโน
- อิมมูโนโกคบูลิน = สร้างภูมิคุ้มกัน(แอนติบอดี้)
- ถั่วเหลืองมีกรดอะมิโนสูงมาก ทดแทนเนื้อสัตว์ได้
- กรดอะมิโนจำเป็นมี 8 ชนิด คือ เมไทโอนีน,ทรีโอนีน,ไลซีน,เวลีน,ลิวซีน,ไอโซลิวซีน,เฟนิลอะลามีน และทริปโตเฟน
- ทารกต้องการ ฮีสติดีน
- กรดอะมิโนไม่จำเป็นมี ไกลซีน,แอสปาราจีน,กรดกลูตามิก,ไทโรซีน
คาร์โบไฮเดรต : เป็นองค์ประกอบของเซลล์เนื้อเยื่อ ผนังเซลล์ น้ำ และไขข้อในสัตว์ แบ่งได้ 3 ประเภทตามขนาดของโมเลกุล คือ
1.มอนอแซ็กคาไรน์ > เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว มีรสหวาน ละลายน้ำได้ ร่างกายสามารถนำไปใช้ได้ทันที ได้แก่
- กลูโคส - กาแลกโทส - ฟรักโทส >> มีสูตร คือ C6H12O6
2.ไดแซ็กคาไรด์ > เป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ ได้แก่
- มอนโทส เกิดจากกลูโคส 2 โมเลกุล ได้จากการไฮโดรไลซ์แป้ง
- แล็กโทส เกิดจากกลูโคสและกาแล็กโทส พบในน้ำนมสัตว์
- ซูโครส(น้ำตาลทราย) เกิดจากกลูโคสและฟรักโทส พบในน้ำผลไม้ จากผักและน้ำผึ้ง
3.พอลิแซ็กคาไรน์ > เป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ เกิดจากมอนอแซ็กคาไรน์ หลักร้อยขึ้นไปมาต่อกันเป็นโครงสร้างโซ่ตรง หรือโซกิ่ง
- มีสมบัติต่างจากน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวและคู่ คือ ไม่มีรสหวาน ไม่ละลายน้ำ เช่น แป้งวุ้น เซลลูโลส ไกลโคเจน อินซูลิน
สมบัติของคาร์โบไฮเดรต
1.น้ำตาลมีรสหวาน ละลายน้ำได้ดี แป้งไม่มีรสหวาน และไม่ละลายน้ำ
2.กลูโคสและกาแล็คโทส ทดสอบกับสารละลายเบเนดิกส์ จะได้ตะกอนสีแดงอิฐ
3.แป้งและน้ำตาลทราย ทำปฏิกิริยากับกรดหรือเอนไซม์จะได้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
4.การหมัก คือ การเปลี่ยนแป้งหรือน้ำตาลให้เป็นเอทานอลและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมียีสต์หรือแบคทีเรียเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
*ร่างกายมนุษย์ไม่สามารถย่อยเซลลูโลสได้ จึงเป็นเส้นใบที่ช่วยในการทำงานของลำไส้
*น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว คือ ส่วนที่เล็กที่สุดของคาร์โบไฮเดรต
กรดนิวคลีอิก มี 2 ชนิด คือ
1.กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (DNA) พบในนิวเคลียสของเซลล์ ทำหน้าที่เป็นสารพันธุกรรม
2.ไรโบนิวคลีอิก (RNA) พบในนิวเคลียสและไซโตพลาซึมของเซลล์สิ่งมีชีวิต มีหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์
*ทั้ง DNA และ RNA เป็นโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่มาก ประกอบด้วย
นิวคลีโอไทด์
*นิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วย น้ำตาลไรโบส ,N-เบส และหมู่ฟอสเฟต
*N-เบส แยกเป็น 1.Adenine
2.Tumine
3.Guanine
4.Cytonine
ผลงานอื่นๆ ของ Even Star ดูทั้งหมด
ผลงานอื่นๆ ของ Even Star
ความคิดเห็น