ปลาทอง
ประวัติปลาทอง
ทางประวัติศาสตร์เชื่อได้ว่าการเพาะพันธุ์ปลาทองมีมานานกว่าหนึ่งพันปีแล้ว หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึง คือ รูปวาดปลาทองซึ่งมีเกล็ดสีแดงที่ลำตัวจำนวนมากกำลังว่ายน้ำอยู่ในบ่อ อายุรูปภาพกว่า 2,000 ปีมาแล้ว ปลาทองเป็นปลาที่อยู่ในวงศ์ ไซไพร์นิดี้ (Family Cyprinidae) จัดเป็นปลาวงศ์ที่ใหญ่ที่สุด โดยมีปลาอยู่เกือบ 2,000 ชนิด ซึ่งปลาในวงศ์นี้มีปลาที่เราพอรู้จักคือ ปลาทอง ปลาไน และปลาตะเพียน จากการศึกษาพบว่า ปลาเงินปลาทองเป็นปลาซึ่งเกิดจากการผ่าเหล่ามาจากปลาไน (Crucian carp) ปลาเงินปลาทองมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Carassius auratus linn. ประเทศแรกที่เพาะพันธุ์ปลาทองได้สำเร็จคือ ประเทศจีน แต่ประเทศที่พัฒนาพันธุ์ปลาทองให้มีสีและลวดลายสวยงามคือประเทศญี่ปุ่น และเพียงเวลาไม่นานนัก ญี่ปุ่นก็ครองความเป็นจ้าวในการส่งออกปลาทองไปขายต่างประเทศ ผลที่ตามมาก็คือ ทำให้พันธุ์ปลาทองเป็นที่แพร่หลายและเป็นที่นิยมในหมู่นักเลี้ยงปลาในที่สุด
ปลาทองพันธุ์สามัญ (Common fish) เป็นปลาต้นสายพันธุ์ ลำตัวค่อนข้างยาวและแบนด้านข้าง หัวสั้นกว้างและไม่มีเกล็ด เป็นปลาที่อดทน กินอาหารง่ายและลูกดก สีสันคล้ายปลาไนมาก ในประเทศไทย สัณนิฐานได้ว่ามีผู้นำปลาเงินปลาทองเข้ามาเลี้ยงครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง โดยนำเข้ามาจากประเทศจีนเนื่องจากมีการค้าติดต่อกันในช่วงนั้น ทางประวัติศาสตร์เชื่อได้ว่าการเพาะพันธุ์ปลาทองมีมานานกว่าหนึ่งพันปีแล้ว หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึง คือ รูปวาดปลาทองซึ่งมีเกล็ดสีแดงที่ลำตัวจำนวนมากกำลังว่ายน้ำอยู่ในบ่อ อายุรูปภาพกว่า 2,000 ปีมาแล้ว ปลาทองเป็นปลาที่อยู่ในวงศ์ ไซไพร์นิดี้ (Family Cyprinidae) จัดเป็นปลาวงศ์ที่ใหญ่ที่สุด โดยมีปลาอยู่เกือบ 2,000 ชนิด ซึ่งปลาในวงศ์นี้มีปลาที่เราพอรู้จักคือ ปลาทอง ปลาไน และปลาตะเพียน
จากการศึกษาพบว่า ปลาเงินปลาทองเป็นปลาซึ่งเกิดจากการผ่าเหล่ามาจากปลาไน (Crucian carp) ปลาเงินปลาทองมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Carassius auratus linn. ประเทศแรกที่เพาะพันธุ์ปลาทองได้สำเร็จคือ ประเทศจีน แต่ประเทศที่พัฒนาพันธุ์ปลาทองให้มีสีและลวดลายสวยงามคือประเทศญี่ปุ่น และเพียงเวลาไม่นานนัก ญี่ปุ่นก็ครองความเป็นจ้าวในการส่งออกปลาทองไปขายต่างประเทศ ผลที่ตามมาก็คือ ทำให้พันธุ์ปลาทองเป็นที่แพร่หลายและเป็นที่นิยมในหมู่นักเลี้ยงปลาในที่สุด ปลาทองพันธุ์สามัญ (Common fish) เป็นปลาต้นสายพันธุ์ ลำตัวค่อนข้างยาวและแบนด้านข้าง หัวสั้นกว้างและไม่มีเกล็ด เป็นปลาที่อดทน กินอาหารง่ายและลูกดก สีสันคล้ายปลาไนมาก ในประเทศไทย สัณนิฐานได้ว่ามีผู้นำปลาเงินปลาทองเข้ามาเลี้ยงครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง โดยนำเข้ามาจากประเทศจีนเนื่องจากมีการค้าติดต่อกันในช่วงนั้น
พันธุ์ปลาทองที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทย
เทคนิคการเลือกซื้อปลาทอง
เทคนิคการเลี้ยงปลาทอง "เลี้ยงอย่างไรจึงสวย"
เทคนิคการเพาะพันธุ์และการอนุบาลลูกปลาทอง
การเลือกซื้อปลาทอง
- มีส่วนหัว ลำตัว และหางที่สมส่วนกัน เวลาว่ายน้ำส่วนหัวไม่ทิ่มลงพื้นหรือว่ายหงายท้อง
- สีสันสดใส เกล็ดเรียงเป็นระเบียบสวยงาม
- สุขภาพดี ดูได้จากการว่ายน้ำไปมาตามธรรมชาติ ไม่ปล่อยตัวลอยไปตามน้ำหรือลอยคอผิวน้ำเกือบตลอดเวลา
- สำหรับปลาหัวสิงห์ หลังของปลาจะต้องโค้งสวย ไม่มีปุ่มบนหลังหรือหลังปลาบุ๋มลงไป
- ครีบและหางของปลาไม่พันงอหรือขาด ครีบมีลักษณะเท่ากัน เวลาว่ายน้ำ ครีบเบ่งบานสวยงาม ไม่ลู่
- รูปทรงของปลาต้องมีลักษณะด่นเฉพาะปลาแต่ละชนิด เช่น ถ้าซื้อปลาสิงห์ต้องไม่มีครีบบนหลัง
- ซื้อปลาจากร้านที่ขายประจำถาวร ไม่ใช่แผงลอย ดังรายละเอียดในภาพ
ลักษณะที่ดีของปลาทองชนิดต่างๆ ไว้ดังนี้
|
1. ลักษณะของปลาทองพันธุ์หัวสิงห์ |
|
ลักษณะ |
หัวสิงห์ญี่ปุ่น |
หังสิงห์จีน |
หัวสิงห์สยาม |
หัวสิงห์ลูกผสม |
หัวสิงห์ตากลับ |
หัวสิงห์ตาลูกโป่ง |
หัวและนัยน์ตา |
- วุ้นเนื้อละเอียด ไม่แตก วุ้นบริเวณมุมปากมีลักษณะคล้ายเขี้ยว - มีวุ้นครบทั้ง 3 ส่วน คือส่วนบนของหัว กระพุ้งแก้มและบริเวณเหนือริมฝีปาก - วุ้นไม่ปิดตาจนมิด ตาสดใส |
- หัววุ้นมีขนาดใหญ่กว่าลำตัว ลักษณะวุ้นเป็นเม็ดเล็กหรือใหญ่ขนาดสม่ำเสมอ - วุ้นไม่ปิดตาจนมิด ตาสดใส |
- วุ้นมีทั้งแบบสิงห์จีน และสิงห์ญี่ปุ่น ลักษณะวุ้นเป็นเม็ดคล้ายสิงห์จีนแต่แน่นกว่า หรือวุ้นเป็นหลืบคล้ายมันสมอง - วุ้นต้องปิดตาจนมิด |
- ลักษณะวุ้นเป็นเม็ดคล้ายสิงห์จีนแต่แน่นกว่า หรือวุ้นเป็นหลืบคล้ายมันสมอง - วุ้นไม่ปิดตาจนมิด ตาสดใส |
- หัวไม่มีวุ้น หรือมีเคลือบวุ้นเล็กน้อย - ตาใหญ่ สดใส ตาทั้งสองข้างเสมอกัน และหงายแหงนมองฟ้าเสมอ |
- หัวไม่มีวุ้นหรือเคลือบวุ้นเล็กน้อย - มีถุงน้ำใต้ตาคล้ายลูกโป่ง ถุงน้ำโปร่งแสง - ตาและถุงน้ำใต้ตาทั้งสองข้างเสมอกัน
|
ลำตัว |
- ไม่มีครีบหลัง หลังโค้งมนรูปไข่ไก่ - ลำตัวขนาดใหญ่ หนา มองจากด้านบน ลำตัวไม่คดงอ -เกล็ดเป็นเงางาม เรียงเป็นระเบียบ |
- ไม่มีครีบหลัง หลังตรงหรือลาดโค้งเล็กน้อย - ลำตัวค่อนข้างกลม หนา ไม่คดงอ - เกล็ดเป็นเงางาม เรียงเป็นระเบียบ |
- ไม่มีครีบหลัง หลังโค้งมนรูปไข่ไก่ - ลำตัวขนาดใหญ่ หนา มองจากด้านบนลำตัวไม่คดงอ - เกล็ดเป็นเงางาม เรียงเป็นระเบียบ |
- ไม่มีครีบหลัง หลังโค้งมนรูปไข่ไก่ - ลำตัวขนาดใหญ่ หนา มองจากด้านบนลำตัวไม่คดงอ - เกล็ดเป็นเงางาม เรียงเป็นระเบียบ |
- ไม่มีครีบหลัง ลำตัวยาว หลังตรงหรือโค้งลาดเล็กน้อย - เกล็ดเป็นเงางาม เรียงเป็นระเบียบ |
- ลำตัวยาว หลังตรงหรือโค้งลาดเล็กน้อย เกล็ดเป็นเงางาม เรียงเป็นระเบียบ |
ครีบหาง |
- ครีบหางสั้น ตั้ง ต่อกับลำตัว เป็นมุมแหลมประมาณ 45 องศา - ครีบหางหนา อาจมี 3 หรือ 4 แฉก - ครีบหางแผ่กว้าง |
- ครีบหางใหญ่ - หางลาด ปลายหางเสมอ แนวเดียวกับสันหลัง |
- ครีบหางสั้น ตั้ง ต่อกับลำตัวเป็นมุมแหลมประมาณ 45 องศา - ครีบหางหนาอาจมี 3 หรือ 4 แฉก |
- ครีบหางสั้น ตั้ง ต่อกับลำตัวเป็นมุมแหลมประมาณ 45 องศา - ครีบหางหนาอาจมี 3 หรือ 4 แฉก |
- ครีบหางยาว - หางลาด ปลายหางเสมอแนวเดียวกับสันหลัง หรือสูงกว่า |
- ครีบหางยาว - หางลาด ปลายหางเสมอแนวเดียวกับสันหลัง หรือสูงกว่า |
สี |
- สีเข้มสดใส - มีทุกสี |
- สีเข้มสดใส - มีทุกสี |
- สีดำปลอด |
- สีเข้มสดใส - มีทุกสี |
- สีเข้มสดใส - มีทุกสี |
- สีเข้มสดใส - มีทุกสี |
รูปทรงและการทรงตัว |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน - การทรงตัวดี - มองจากด้านบนเหมือน รูปเหรียญโคบัน (Koban) |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน - การทรงตัวดี - มองด้านบนสันหลังตรง |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน - การทรงตัวดี |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน - การทรงตัวดี |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน - การทรงตัวดี |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน - การทรงตัวดี |
ครีบทวาร |
- ครีบคู่ หรือ ครีบเดี่ยวที่เกิดโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่ หรือ ครีบเดี่ยวที่เกิดโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่ หรือ ครีบเดี่ยวที่เกิดโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่ หรือ ครีบเดี่ยวที่เกิดโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่ หรือ ครีบเดี่ยวที่เกิดโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่ หรือ ครีบเดี่ยวที่เกิดโดยธรรมชาติ |
ครีบอื่นๆ |
- ครีบคู่เสมอกันทั้งซ้ายและขวา |
- ครีบคู่เสมอกันทั้งซ้ายและขวา |
- ครีบคู่เสมอกันทั้งซ้ายและขวา |
- ครีบคู่เสมอกันทั้งซ้ายและขวา |
- ครีบคู่เสมอกันทั้งซ้ายและขวา |
- ครีบคู่เสมอกันทั้งซ้ายและขวา | |
|
2. ลักษณะเด่นของปลาทองพันธุ์ออรันดา |
|
ลักษณะ |
ออรันดาหัววุ้น |
ออรันดาหัวแดง |
ออรันดาห้าสี |
ออรันดาหางพวง |
หัว |
- วุ้นมาก มองจากด้านบนเห็นเป็นก้อนกลมหรือเหลี่ยม วุ้นใสสีสด |
- วุ้นเป็นก้อนกลมสีแดง เหมือนสวมหมวกสีแดง วุ้นบริเวณข้างแก้มและใต้คางไม่มีหรือมีบ้างเล็กน้อย |
- วุ้นมาก ขนาดสม่ำเสมอ |
- วุ้นน้อย หรือ ไม่มีวุ้น |
ลำตัว |
- มองจากด้านข้างลำตัวแบนกว้างและไม่สั้นจนเกินไป |
- มองจากด้านข้างลำตัวแบนกว้างและไม่สั้นจนเกินไป - เกล็ดเรียงเป็นระเบียบ สม่ำเสมอ เป็นเงาสดใส |
- มองจากด้านข้างลำตัวแบนกว้าง ไม่สั้นจนเกินไป - เกล็ดเรียงเป็นระเบียบ สม่ำเสมอ เป็นเงาสดใส |
- ลำตัวค่อนข้างยาว |
ครีบหาง |
- ครีบหางค่อนข้างหนา แผ่กว้าง ไม่สั้นจนเกินไป |
- ครีบหางค่อนข้างหนา แผ่กว้าง ไม่สั้นจนเกินไป |
- ครีบหางค่อนข้างหนา แผ่กว้าง ไม่สั้นจนเกินไป |
- หางยาวเป็นพวง |
สี |
- สีเข้มสดใส มีทุกสี |
- ลำตัวสีขาวเงิน วุ้นบนหัวสีแดงเข้ม |
- มีครบทั้ง 5 สี (ฟ้า ดำ แดง ขาว ส้ม) สีกระจายสม่ำเสมอ |
- มีทุกสี |
ครีบหลัง |
- ครีบหลังตั้ง ไม่พับทั้งขณะว่ายน้ำและหยุดนิ่ง |
-ครีบหลังตั้ง ไม่พับทั้งขณะว่ายน้ำและหยุดนิ่ง |
-ครีบหลังตั้ง ไม่พับทั้งขณะว่ายน้ำและหยุดนิ่ง |
- ตรีบหลังพลิ้วยาว |
ครีบทวาร |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
รูปทรงและการทรงตัว |
- สามารถว่ายน้ำทรงตัวได้ดี |
- สามารถว่ายน้ำทรงตัวได้ดี |
- สามารถว่ายน้ำทรงตัวได้ดี |
- สามารถว่ายน้ำทรงตัวได้ดี |
ครีบอื่นๆ |
- ครีบคู่เสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่เสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่เสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่เสมอกัน ไม่พับ | |
|
3. ลักษณะเด่นของปลาทองพันธุ์ริวกิ้น และ ปลาทองพันธุ์เกล็ดแก้ว |
|
ลักษณะ |
ริวกิ้น |
เกล็ดแก้วหน้าหนู |
เกล็ดแก้วหัววุ้น |
เกล็ดแก้วหัวมงกุฏ |
หัว |
- หัวสั้น ปากแหลม ไม่มีวุ้น |
- ปากแหลม หน้าสั้น ไม่มีวุ้น |
- มีวุ้น |
- มีวุ้นเป็นก้อนกลมเดี่ยว |
เกล็ด |
- |
- เกล็ดพองโตขนาดสม่ำเสมอ |
- เกล็ดพองโต เรียงไล่ขนาดเป็นระเบียบ เกล็ดบริเวณกลางลำตัวขนาดใหญ่กว่าส่วนหัว ส่วนท้าย หลัง และท้อง |
- เกล็ดพองโต เรียงไล่ขนาดเป็นระเบียบ เกล็ดบริเวณกลางลำตัวขนาดใหญ่กว่า ส่วนหัว ส่วนท้าย หลังและท้อง |
ลำตัว |
- มองจากด้านข้างลำตัวค่อนข้างกว้าง ส่วนท้องอ้วนกลม มองจากด้านหน้าโหนกหลังสูงเท่ากันส่วนโค้งของคอและท้อง เกล็ดเรียงเป็นระเบียบ เป็นเงาสดใส |
- มองจากด้านบนลำตัว กลมสั้น หัวท้ายแหลม ท้องอูมเป่ง |
หลังตรง ท้องอูมเป่ง |
หลังตรง ท้องอูมเป่ง |
ครีบหลัง |
- ครีบหลังสูง ตั้งตรงทั้งขณะว่ายน้ำและหยุดนิ่ง |
- ตั้งตรง |
- ตั้งตรง |
- ตั้งตรง |
ครีบหาง |
- ครีบหาง 3 แฉก หรือ 4 แฉก ไม่สั้นจนเกินไป หางไม่พับ |
- หางยาวปานกลาง ครีบหางมี 3 หรือ 4 แฉก ไม่พับ |
- หางสั้น ครีบหางมี 3 หรือ 4 แฉก ไม่พับ |
- หางสั้น ครีบหางมี 3 หรือ 4 แฉก ไม่พับ |
สี |
- สีเข้ม ขาว-แดง ส้ม ห้าสี (ฟ้า แดง ดำ ขาว ส้ม) สีสมดุลย์ทั้ง 2 ข้าง |
- มีทุกสี |
- มีทุกสี |
- มีทุกสี |
ครีบทวาร |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวที่เกิดโดยธรรมชาติ |
|
|
|
รูปทรงและการทรงตัว |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน ว่ายน้ำทรงตัวดี |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน - การทรงตัวดี |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน - การทรงตัวดื |
- ซ้ายและขวาเสมอกัน - การทรงตัวดี |
ครีบอื่นๆ |
- ครีบคู่เสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่ยาวเสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่ยาวเสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่ยาวเสมอกัน ไม่พับ | |
|
4. ลักษณะเด่นของปลาทองพันธุ์ตาโปน |
|
ลักษณะ |
เล่ห์กระโปรง |
เล่ห์ตุ๊กตา |
ตาโปนห้าสี |
ตาโปนญี่ปุ่น |
เล่ห์ควาย |
ผีเสื้อ (หลังอูฐ) |
นัยน์ตา |
- ตามีขนาดใหญ่เสมอกัน ตาโปนออกนอกเบ้าตา มองไปด้านหน้าหรือด้านข้างเสมอกัน |
- ตามีขนาดใหญ่เสมอกัน ตาโปนออกนอกเบ้าตา มองไปด้านหน้าหรือด้านข้างเสมอกัน |
- ตามีขนาดใหญ่เสมอกัน ตาโปนออกนอกเบ้าตา มองไปด้านหน้าหรือด้านข้างเสมอกัน |
- ตามีขนาดใหญ่เสมอกัน ตาโปนออกนอกเบ้าตา มองไปด้านหน้าหรือด้านข้างเสมอกัน |
- ตามีขนาดใหญ่เสมอกัน ตาโปนออกนอกเบ้าตา มองไปด้านหน้าหรือด้านข้างเสมอกัน |
- ตามีขนาดใหญ่เสมอกัน ตาโปนออกนอกเบ้าตา มองไปด้านหน้าหรือด้านข้างเสมอกัน |
ลำตัว |
- กลมสั้น |
- กลมสั้น |
- กลมสั้น |
- กลมสั้น |
- ขนาดใหญ่ ค่อนข้างยาว |
- กลมสั้น หลังยกสูง ท้องอ้วนกลม |
ครีบหลัง |
- ตั้งตรงสูง ไม่พับ |
- ตั้งตรงสูง ไม่พับ |
- ตั้งตรงสูง ไม่พับ |
- ตั้งตรงสูง ไม่พับ |
- ตั้งตรงสูง ไม่พับ |
- ตั้งตรงสูง ไม่พับ |
ครีบหาง |
- หางยาวคล้ายกระโปรงสุ่ม |
- หาง 3 หรือ 4 แฉก และเว้าลึก ค่อนข้างหนา ยาวปานกลาง หางไม่ตก |
- หาง 3 หรือ 4 แฉก และเว้าลึก |
- หาง 3 หรือ 4 แฉก และเว้าลึก |
- หางยาวเป็นพวง |
- หาง 3 หรือ 4 แฉก สั้น บานออกคล้ายผีเสื้อ |
สี |
- ดำสนิท |
- ดำสนิท |
- ห้าสี (ฟ้า แดง ดำ ขาว ส้ม) |
ขาวแดง ขาวส้ม ส้ม หรือ ขาวดำ |
- ดำ หรือ นาก |
- ดำ หรือ นาก |
รูปทรงและการทรงตัว |
- เวลาหยุดจะนิ่งสนิท ว่ายน้ำทรงตัวดี |
- ไม่หยุดนิ่งเป็นเวลานาน ว่ายน้ำทรงตัวดี |
- การทรงตัวดี |
- การทรงตัวดี |
- การทรงตัวดี |
- การทรงตัวดี |
ครีบทวาร |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
- ครีบคู่หรือครีบเดี่ยวโดยธรรมชาติ |
ครีบอื่นๆ |
- ครีบคู่ยาวเสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่ยาวเสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่ยาวเสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่ยาวเสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่ยาวเสมอกัน ไม่พับ |
- ครีบคู่ยาวเสมอกัน ไม่พับ | วิธีเลี้ยงปลาทอง
น้ำที่ใช้เลี้ยงปลา น้ำถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการเลี้ยงปลา เพราะปลาอาศัยอยู่ในน้ำ ถ้าสภาพน้ำไม่ดี มีเชื้อโรคมากเกินไป หรือมีสารเคมีต่างๆเจือปนอยู่ในน้ำ หรือน้ำสะอาดไม่เพียงพอ การเลี้ยงปลาก็จะไม่ประสบความสำเร็จ
- น้ำประปา ต้องรองใส่ภาชนะที่ไม่ปิดฝา ทิ้งไว้เกินกว่า 24 ชม. เพื่อให้สารคลอรีนที่มีอยู่ในน้ำระเหยไปให้หมด หรืออย่างน้อยต้องทิ้งไว้ 12 ชม. เป็นอย่างต่ำ ถ้าจำเป็นต้องรีบใช้น้ำในการเลี้ยงปลาหรือเปลี่ยนถ่ายน้ำให้ปลา ควรรองน้ำใส่ภาชนะและใส่น้ำยากำจัดคลอรีนลงในภาชนะนั้นๆ และในกรณีใช้น้ำยาลดคลอรีนชนิดเข้มข้นควรทิ้งไว้ประมาณ 10-15 นาที หรือ 1-2 ชม. สำหรับน้ำยาชนิดธรรมดาทั่วไป น้ำที่ใส่น้ำยานี้สามารถใช้เลี้ยงปลาได้
- น้ำบาดาล ต้องใส่ยาฆ่าเชื้อโรคหรือใส่น้ำยาปรับสมดุลน้ำ ควรใส่ให้สีของน้ำออกสีน้ำเงินเล็กน้อย เมื่อน้ำเริ่มใสสามารถนำมาเลี้ยงปลาได้ ถ้าใช้น้ำบาดาลที่สูบขึ้นมาใหม่ควรตรวจดูอุณหภูมิของน้ำด้วย คือต้องไม่ร้อนหรือเย็นมากจนเกินไป
- น้ำคลองหรือบ่อ ห้ามใช้สารส้มเพื่อทำให้น้ำใส ควรรองน้ำใส่ภาชนะทิ้งไว้ 2-3 วันเพื่อรอให้น้ำตกตะกอนเอง จึงสามารถตักส่วนบนที่ใสมาใช้เลี้ยงปลาได้ และควรใส่ยาฆ่าเชื้อโรคหรือใส่ยาปรับสมดุลน้ำเล็กน้อย
- น้ำฝน ปัจจุบันเนื่องจากมลภาวะแวดล้อมเป็นพิษ น้ำฝนที่ตกลงมาจะมีสารเคมีเจือปน จึงไม่เหมาะแก่การเลี้ยงปลา และในน้ำฝนจะมีแต่ไฮโดรเจนไม่มีอ๊อกซิเจนเจือปนอยู่เลย แต่ที่ปลาสามารถอาศัยอยู่ได้เพราะผู้เลี้ยงได้ใช้เครื่องเพิ่มออกซิเจนให้ปลา ปลาจึงสามารถอยู่ได้แต่ปลาจะโตช้า หรือเลี้ยงแล้วแทบจะไม่โตเลย จะทำให้ปลาเป็นปลาแกรนในที่สุด
- น้ำที่ผ่านเครื่องกรองน้ำ ควรเติมน้ำยาลดคลอรีน ถ้าใช้ชนิดเข้มข้นทิ้งไว้ 10-15 นาที ชนิดธรรมดาทิ้งไว้ 1-2 ชม. เหมือนกับใช้น้ำประปา แต่น้ำผ่านเครื่องกรองจะสะอาดและมีเชื้อโรคเจือปนอยู่ในน้ำน้อยกว่ามาก
- น้ำกลั่น ไม่เหมาะแก่การเลี้ยงปลา เพราะจะไม่มีค่าสารละลายออกซิเจน (โอ ทู) ในน้ำเหลืออยู่เลย เนื่องจากโดนเครื่องกรองน้ำกรองออกจนหมด
อาหาร อาหารที่เราให้ปลากินมีอยู่ 2 ชนิดด้วยกันคือ
- อาหารสำเร็จรูป มีหลายชนิดคือ แบบเป็นเม็ด แบบเป็นแผ่น แบบเป็นก้อน แบบเป็นผง และมีหลายยี่ห้อให้เลือกใช้ บางยี่ห้อสินค้าไม่มีคุณภาพ และมีหลายยี่ห้อที่โฆษณาเกินจริง ผู้เลี้ยงควรสอบถามและขอคำแนะนำในเรื่องการเลือกซื้ออาหารปลาจากร้านปลาที่ขายสินค้าเป็นประจำ (ไม่ใช่ร้านแผงลอยหรือตามตลาดนัดแนะนำ) ควรเลือกซื้ออาหารปลาตามขนาดของปลาที่เลี้ยงอยู่ และไม่ควรให้อาหารเหลือในน้ำ
- อาหารสด มีดังนี้คือ ลูกน้ำ ไรน้ำจืด ไรทะเล ใส้เดือนน้ำ หนอนแดง ไม่ควรใส่อาหารสดทุกชนิดในตู้ปลามาก เพราะอาหารสดเป็นสัตว์ที่มีชีวิต จะแย่งออกซิเจนในตู้ ควรใส่น้อยๆ แต่ใส่บ่อยๆ และไม่ควรเอาอาหารสดที่ตายแล้วใส่ให้ปลากินเพราะจะทำให้ปลาถ่ายท้องได้
อุณหภูมิ อุณหภูมิที่เหมาะกับการเลี้ยงปลาทองคือ 20-25 องศาเซลเซียส
ความหนาแน่นของปลาในตู้ ไม่ควรเลี้ยงปลาทองจำนวนมากในตู้ ควรเลี้ยงปลาให้พอเหมาะ ไม่แน่นจนเกินไป แสงแดด ควรเลี้ยงปลาทองให้ถูกแสงแดดบ้าง หรือถ้าเลี้ยงอยู่ในบ้าน ควรใช้หลอดไฟเทียมแสงอาทิตย์และเปิดไฟไว้ในเวลากลางวัน
อากาศ ถ้าน้ำที่ใช้เลี้ยงปลามีออกซิเจนเพียงพอต่อความต้องการของปลา จะช่วยให้ปลาสดชื่น แข็งแรง และโตเร็ว
ถ้าอยากรู้เรื่องปลาก็เข้าไปได้ที่เวปhttp://www.rachaplathong.com/eng/info_th5.html นี้นะจ๊ะ
****วันนี้เราไปก่อนนะ บายจ้า......
|
ข้อความที่โพสจะต้องไม่น้อยกว่า {{min_t_comment}} ตัวอักษรและไม่เกิน {{max_t_comment}} ตัวอักษร
กรอกชื่อด้วยนะ
_________
กรอกข้อมูลในช่องต่อไปนี้ไม่ครบ
หรือข้อมูลผิดพลาดครับ :
_____________________________
ช่วยกรอกอีกครั้งนะครับ
กรุณากรอกรหัสความปลอดภัย
ความคิดเห็น