ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ชีวประวัตินักวิทยาศาสตร์

    ลำดับตอนที่ #12 : จอห์น เรย์ [บิดาแห่งพฤกษศาสตร์]

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 13.23K
      22
      7 ต.ค. 52


           

                     เขาก็เหมือนนักศึกษาค้นคว้าคนอื่นๆ ที่ทุ่มเทชีวิตจิตใจให้กับงานที่รักอย่างยอมตายถวายชีวิต  ซึ่งบางคนกว่าชาวโลกจะบังเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในผลงานของเขา  ก็ต้องล้มตายไปเสียก่อน  คนๆนั้นถึงจะ  ดังเรื่องของคนดีมีประโยชน์  มักจะเริ่มมาจากเด็กข้างถนน  ลูกชาวนาที่ยากจน   บางคนถ้าพูดแบบเขาก็เหมือนนักศึกษาค้นคว้าคนอื่นๆ ที่ทุ่มเทชีวิตจิตใจให้กับงานที่รักอย่างยอมตายถวายชีวิต  ซึ่งบางคนกว่าชาวโลกไทยๆ  กอ ขอ กอกา  ไม่กระดิกหู  แต่ก็เอาดีจนได้  และดีจนไม่อาจจะตามทันได้

     

                    สำหรับจอห์น  เรย์   เขาเป็นนักธรรมชาติวิทยามีความเชี่ยวชาญในสิ่งที่มีชีวิต  ไม่ว่าพืชหรือสัตว์จนได้ รับกายกย่องว่าเป็น บิดาแห่งพฤกษศาสตร์  อย่างนี้ก็แปลว่า  เขาหลับตามองเห็นพืชทุกชนิด

     

                    เขาเป็นคนอังกฤษ  เกิดเมื่อวันที่  29 กุมภาพันธ์  ..1628 (พ..2127) ใกล้เบรนทรี เอสเซกซ์  พ่อเป็นช่างตีเหล็ก  แต่ก็ส่งเสียลูกชายจนถึงขั้นจบมหาวิทยาลัย  คือจบ  เคมบริดจ์

                   

                    เขาเกิดก่อนชาลส์  โรเบิร์น   ดาร์วิน  ผู้วางทฤษฎีแห่งการพัฒนาธรรมชาติ   ซึ่งเป็นนักธรรมชาติวิทยาชาติเดียวกับเขา    เมื่อเขาเป็นผู้ริเริ่มงานทางด้านธรรมชาติ  เขาจึงได้รับการยกย่องจากคนรุ่นหลัง   ซึ่งได้อาศัยการริเริ่มของเขาเป็นบรรทัดฐานศึกษาค้นคว้าหาสิ่งใหม่ๆและความก้าวหน้าในวิชาแขนงนี้

                   

                    จอห์น  เรย์  ได้ทุ่มเทวิชาความรู้  และความสนใจต่อเรื่องราวของธรรมชาติจนมีผลงานดีเด่น  และได้เข้าร่วมสมาชิก  F.R.S.  และในปี  ..1667    สมาคมทางพฤกษศาสตร์   และสัตววิทยาได้เอาชื่อของเขาไปตั้งเป็นอนุสรณ์คือ  “The  Ray  Society”

     

                    ต่อมาในปี ค..1682   เขาได้จำแนกพืชต่างๆและได้ตั้งชื่อกำกับพืชที่เขาจำแนกแยกนั้นไปด้วย   และผลงานอันนี้ของเขาแหละที่ทำให้จอห์น  เรย์  ได้รับเกียรติอย่างสูงเป็น  บิดาแห่งพฤกษศาสตร์   เขาถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 17 มกราคม ค..1705 (พ..2248) รวมอายุได้ 77 ปี

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×