ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    แหล่งสูบงาน+ความรู้ชั้นยอด คลิ๊กเลยค่ะ~

    ลำดับตอนที่ #49 : (ชีวะ) การลำเลียงสารในร่างกาย

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 3.76K
      4
      27 ส.ค. 50

     

     การลำเลียงสารในร่างกาย

     

    ระบบการหมุนเวียนของเลือด มี 2 แบบใหญ่ ๆ คือ

    1.ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิด

    2.

    (Open Circulatory System) ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิด (Closed Circulatory System)

    ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด

    เวียนตลอดเวลา เช่นพวกแมลง

    หมายถึง ระบบที่เลือดไม่ได้หมุน

    ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด

    อยู่ในเส้นเลือดตลอด เช่น พวกไส้เดือน

    หมายถึง ระบบที่เลือดไหลวนเวียน

    ระบบการหมุนเวียนเลือดในคน

    -มีระบบการหมุนเวียนแบบปิด

    -หัวใจ มีหน้าที่สูบฉีดเลือดให้เคลื่นที่ไปตามเส้นเลือด

    หัวใจ

    1.ชั้นนอก

    2.ชั้นกลาง

    3.ชั้นใน

    1. ผนังด้านนอกของหัวใจ เส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ

    เรียกว่าเส้นเลือดโคโรนารี

    ติดทำให้เกิดการอุดตัน ซึ่งมีอันตรายถึงชีวิตได้

    2. เนื้อเยื่อชั้นกลาง

    ประกอบไปด้วยกล้ามเนื้อพิเศษ เรียกว่า กล้ามเนื้อหัวใจ ซึ่งเนื้อ

    เยื่อชั้นนี้จะมีความหนามาก

    3. เนื้อเยื่อชั้นใน หัวใจของคนและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี 2 ห้อง

    บน 2 ห้องล่าง

    - ห้องบน คือ เอเทรียม

    ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Coronary artery ) ถ้ามีไขมันมาเกาะ (atrium)

    - ห้องล่าง คือ เวนทริเคิล (Ventricle)

     

    หัวใจของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จะมีเส้นเลือดที่ติดต่อกับหัวใจหลาย

    เส้น เรียกว่า เส้นเวน

    อาร์เทอรี

    ส่วนต่าง ๆ ของร่ายกาย

    (vein) เป็นเส้นเลือดที่นำเลือดเข้าสู่หัวใจ (Artery) เป็นเส้นเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยัง

    การหมุนเวียนของเลือด

    ห้องเอเทรียมขวา มีหน้าที่รับเลือดจากเส้นเวน ชื่อซุพีเรียเวนา

    คาวา

    เลือดมาจากอินฟีเรีย เวนาคาวา

    จากลำตัวและขาแล้วนำเข้าสู่หัวใจ เอเทรียมขวาบีบตัวเลือดเข้าสู่

    เวนทริเคิลขวา โดยจะผ่านลิ้นไตรคัสปิด

    เลือดจะผ่านลิ้นเซมิลูนาร์

    พัลโมนารีอาร์เทอรี

    แลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แก่ปอดและรับออกซิเจนจาก

    ปอด

    เลือดที่มีออกซิเจนสูงจะไหลกลับหัวใจ เข้าสู่ห้องเอเทรียมซ้าย

    เมื่อเอเทรียมซ้ายบีบตัว เลือดจะผ่านลิ้นไมทรัล

    (Superior venacava) นำเลือดมาจากหัวและแขน และรับ (Inferior venacava) ซึ่งนำเลือดมา (tricuspid valve) บีบตัว (Semilunar valve) ซึ่งจะเปิดเข้าสู่เส้น (Pulmonary artery) นำเลือดไปยังปอดเพื่อ (Mitral valve)

    หรือลิ้นไบคัสปิด

    ทริเคิลซ้ายบีบตัวจะดันเลือดให้ไหลผ่านลิ้นเซมิลูนาร์ เข้าสู่เอออร์

    ตา

    (bicuspid valve) เข้าสู่ห้องเวนทริเคิลซ้าย เวน (Aorta)

    ลักษณะที่สำคัญของเส้นเลือดอาร์เทอรี

    -นำเลือดออกจากหัวใจ

    -ขนาดใหญ่สุด คือ เอออร์ตา

    -ขนาดเล็กสุด คือ อาร์เทอรี

    -มีผนังหนา ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่ยืดหยุ่นได้

    -เอออร์ตา มีความยืดหยุ่นที่ดี สามารถขยายรับแรงดันเลือด

    -อาร์เทอรี ยืดหยุ่นตามจังหวะการเต้นของหัวใจ เราสามารถจับ

    ชีพจรได้จากเส้นอาร์เทอรีตรงบริเวณข้อมือ

    -อาร์เทอรีที่อยู่ไกลหัวใจ จะมีขนาดเล็กลง ความยืดหยุ่นน้อยลง

    ลักษณะที่สำคัญของเส้นเลือดเวน

    -มีหน้าที่นำเลือดเข้าสู่หัวใจ

    -เส้นเวนที่ต่อกับเส้นเลือดฝอยมีขนาดเล็ก

    -มีขนาดใหญ่เมื่ออยู่ใกล้หัวใจ

    -ผนังของเส้นเลือดบาง และมีความยืดหยุ่นน้อย

    -มีกล้ามเนื้อน้อย

    -รูของเส้นเวนกว้างกว่ารูของอาร์เทอรี

    -เวนเส้นใหญ่จะมีลิ้นอยู่ภายในเป็นช่วง ๆ

    เส้นเลือดฝอย

    เส้นเลือดฝอย มีลักษณะเป็นร่างแหแทรกอยู่ตามเนื้อเยื่อของ

    ร่างกาย เชื่อระหว่างอาร์เทอรีและเวน

    ผนังเส้นเลือดฝอย เหมาะสำหรับแลกเปลี่ยนก๊าซและสารต่าง ๆ

    ระหว่างเลือดกับเซล ร่างกาย

    ปกติผู้ใหญ่มีความดันเลือดประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท

    ตัวแรก 120 คือ ค่าความดันเลือดสูงสุดขณหัวใจบีบตัว เรียกว่า

    ความดันซิสโทลิก

    ไดแอสโทลิก

    (Systolic) ตัวหลัง 80 คือ ความดันเลือดขณะหัวใจพองตัว คือ ความดัน (diastolic)

    โรคที่เกิดจากความดันเลือด เช่น โรคไต โรคเบาหวาน เป็นต้น

    เลือดคนประกอบด้วย

    -น้ำเลือดหรือพลาสมา

    -เม็ดเลือด

    (plasma) ประมาณ 55% (Blood Corpuscle) ประมาณ 45%

    เม็ดเลือด

    -เม็ดเลือดแดง

    ประกอบไปด้วย (Erythrocyte)

    -เม็ดเลือดขาว

    (leucocyte)

    -เพลตเลต

    (Platelet)

    เม็ดเลือดแดง

    -เม็ดเลือดแดงมีรูปร่างกลม แบน ตรงกลางเว้าเข้าหากัน

    -ผู้ใหญ่ เม็ดเลือดแดงสร้างมาจากตับ , ม้าม, ไขกระดูก

    -เม็ดเลือดแดงที่สร้างขึ้นใหม่จะมีนิวเคลียส เมื่อเจริญเต็มที่จะไม่

    มีนิวเคลียส

    เม็ดเลือดแดง มีรงค์วัตถุ คือฮีโมโกลบิน

    ด้วยโปรตีนและธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ

    ออกซีฮีโมโกลบิน

    ออกซิเจน

    (hemoglobin) ประกอบ (Oxyhemoglobin) คือ ฮีโมโกลบินรวมกับ

    เม็ดเลือดขาว

    -มีขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลือดแดงเกือบ 2 เท่า

    -มีนิวเคลียส

    -มีจำนวนน้อยกว่าเม็ดเลือดแดง

    -เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย เม็ดเลือดขาวจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น

    -เม็ดเลือดขาวสร้างจากม้าม , ต่อมไทมัส , ต่อมน้ำเหลือง ,

    ไขกระดูก

    เซล เม็ดเลือดขาว แบ่งเป็น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ

    1.พวกมีแกรนูล

    ต่าง ๆ กัน สร้างจากม้ามและไขกระดูก

    2.พวกไม่มีแกรนูลในไซโทพลาสซึม นิวเคลียสมีลักษณะค่อน

    ข้างกลม สร้างมาจากต่อมไทมัส, ต่อมน้ำเหลือง , ม้าม

    (granule) ในไซโทพลาสซึม มีนิวเคลียสรูปร่าง

    วิธีทำลายเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาว

    เม็ดเลือดขาวที่มีแกรนูลบางชนิดทำลายเชื้อโรคโดยวิธี ฟาโก

    ไซโทซีส บางชนิดจะสร้างโปรตีนต่อต้านสิ่งแปลกปลอม หรือ

    แอนติบอดี

    โรค เรียกว่า แอนติเจน

    แอนติบอดี มีหน้าที่ต่อต้านแอนติเจน

    (Antibody) สิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายรวมทั้งเชื้อ

    Active immunity

    คือ ภูมิคุ้มกันก่อเอง

    Passive immuity

    คือ ภูมิคุ้มกันรับมา

    เพลตเลต

    เพลตเลต จะอยู่ในไซโทพลาสซึม ซึ่งมีในไขกระดูก มีรูปร่างไม่

    บางครั้งเรียกว่า เศษเม็ดเลือด , เกล็ดเลือด , แผ่นเลือด

    แน่นอน มีขนาดเล็ก กว่าเม็ดเลือดแดงเกือบ 4 เท่า

    เพลตเลต ทำให้เลือดแข็งตัวในขณะที่เส้นเลือดฉีดขาด

    ขบวนการแข็งตัวของเลือด

    ในขณะที่เส้นเลือดฉีกขาด เพลตเลตจะปล่อยเอนไซม์ทรอม

    โบพลาสติน

    (thromboplastin) กับแคลเซียมในเลือดจะเปลี่ยน

    โพรทรอมบิน

    (Prothrombin) เป็นทรอมบิน สารนี้สามารถ

    เปลี่ยนไฟบริโนเจน

    (Fibrinogen) ให้เป็นไฟบริน ไฟบริน มีลักษณะเป็นเส้นใยเหนียว อุดตรงจุดรอยฉีกขาดของ

    เส้นเลือดและเพลตเลตมา เกาะบนร่างแหทำให้เลือดหยุดไหล

     

     

    **คนที่ขาดวิตามิน

    จำเป็นในการสร้างโพรทรอมบิน 

    K ทำให้เลือดแข็งตัวช้า เพราะวิตามิน K มีความ

    น้ำเลือด

    น้ำเลือด หมายถึง เม็ดเลือดต่าง ๆ รวมทั้งเพลตเลตที่อยู่ในของ

    เหลว น้ำเลือดประกอบไปด้วย

    -น้ำประมาณ 90

    - 93%

    -โปรตีน เช่น ไฟบริโนเจน อัลบูมิน

    (globulin)

    (albumin)โกลบูลิน

    น้ำเลือด ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารที่ย่อยแล้ว ไปให้เซลที่ส่วนต่าง

    ๆ ของร่างกาย และรักษาสมดุลความเป็นกรดเบสในร่างกาย

    หมู่เลือด

    เลือดสามารถแบ่งได้ตามชนิดของโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต

    สามารถแบ่งได้ 4 กลุ่ม

    กลุ่ม

    A

    กลุ่ม

    B

    กลุ่ม

    AB

    กลุ่ม

    O การจำแนกกลุ่มเลือดตามชนิดของสารแอนติเจน เรียกว่าระบบ

    ABO

    แอนติเจน

    Rh สามารถแบ่งเป็น

    - Rh

    แต่ไม่มีแอนติบอดี

    + หมายถึง คนที่มีแอนติเจน Rh อยู่ในเยื่อหุ้มเซล เม็ดเลือด Rh อยู่ในเลือด

    -Rh

    มีแอนติบอดีของ

    - หมายถึง คนที่ไม่มีแอนติเจน Rh ในเม็ดเลือดแดง และไม่ Rh

    ระบบน้ำเหลือง

    สารในน้ำเหลืองส่วนใหญ่เป็นโปรตีน มีโมเลกุลขนาดใหญ่

    มีเอนไซม์ฮอร์โมน เม็ดเลือดขาว

    น้ำเหลือง ทำหน้าที่เป็นตัวกลางแลกเปลี่ยนสารต่าง ๆ ระหว่าง

    เซล และเส้นเลือดฝอย น้ำเหลืองช่วยกำจัดแบคทีเรียหรือสิ่งแปลก

    ปลอมซึ่งทำลายโดยเซล เม็ดเลือดขาวในต่อมน้ำเหลือง โดยวิธี

    ฟาโกไซโทซีส

    - น้ำเหลือง ท่อน้ำเหลือง

    ระบบน้ำเหลือง ประกอบด้วย

    -

    -

    ต่อมน้ำเหลือง (lymph node) อวัยวะน้ำเหลือง (lymphatic organ)

    ต่อมน้ำเหลืองและอวัยวะน้ำเหลือง

    - กรองน้ำเหลือง

    - ทำลายเชื้อโรค

    - แหล่งทำลายเม็ดเลือดขาวที่หมดอายุ

    - แหล่งสร้างเม็ดเลือดขาวบางชนิด

    มีหน้าที่

     

     

     

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×