ลำดับตอนที่ #5
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #5 : แนะนำตัว
สวัสดีค่ะ มาถึงตอนใหม่กันแล้ว
คราวนี้อิโยโย่จะยังไม่ขึ้นเรื่องตัวอักษรคาตาคานะนะคะ เพราะมันจะน่าเบื่อเกิน
บทที่แล้วเพิ่งจบฮิรางานะมาเองนี่เนอะ
คราวนี้มาเรียนรู้เรื่องบทสนทนาและไวยกรณ์อย่างง่ายกันดีกว่า>3<!!
แต่ก่อนที่จะไปรู้ไวยกรณ์และบทสนทนา อิโยโย่จะขอเสนอคำศัพท์เพื่อให้จำก่อนเริ่มเรียนกันนะคะ
เอาล่ะ มาเริ่มกันเลย!!
--------------------------------------------------
คราวนี้อิโยโย่จะยังไม่ขึ้นเรื่องตัวอักษรคาตาคานะนะคะ เพราะมันจะน่าเบื่อเกิน
บทที่แล้วเพิ่งจบฮิรางานะมาเองนี่เนอะ
คราวนี้มาเรียนรู้เรื่องบทสนทนาและไวยกรณ์อย่างง่ายกันดีกว่า>3<!!
แต่ก่อนที่จะไปรู้ไวยกรณ์และบทสนทนา อิโยโย่จะขอเสนอคำศัพท์เพื่อให้จำก่อนเริ่มเรียนกันนะคะ
เอาล่ะ มาเริ่มกันเลย!!
--------------------------------------------------
คำศัพท์จำเป็น 1
私 (わたし) watashi ฉัน
あなた anata คุณ
名前 (なまえ) namae ชื่อ
タイ (たい) tai ไทย
日本 (にほん) nihon ญี่ปุ่น
ー人 (じん) jin คน(เชื่อชาติ)
から(来ました) kara(kimashita) (มา)จาก
学生 (がくせい) gaksei ไม่ออกเสียงku นักเรียน
先生 (せんせい) sensei ครู
教師 (きょうし) kyoushi ครู (ใช้เมื่อกล่าวถึงอาชีพตัวเอง)
ปล.คลุมดำอ่านตัวโรมันจิเอานะ อิโยโย่อยากให้ลองฝึกอ่านฮิรางานะดู พยายามเข้านะ ถ้าอ่านไม่ออกค่อยคลุมดำเอา
ปล.2 ตัวหน้าสุดจะเป็นตัวคันจิกับคาตาคานะที่ยังไม่ได้เรียน
-----------------------------------------------------------------------------
私 (わたし) watashi ฉัน
あなた anata คุณ
名前 (なまえ) namae ชื่อ
タイ (たい) tai ไทย
日本 (にほん) nihon ญี่ปุ่น
ー人 (じん) jin คน(เชื่อชาติ)
から(来ました) kara(kimashita) (มา)จาก
学生 (がくせい) gaksei ไม่ออกเสียงku นักเรียน
先生 (せんせい) sensei ครู
教師 (きょうし) kyoushi ครู (ใช้เมื่อกล่าวถึงอาชีพตัวเอง)
ปล.คลุมดำอ่านตัวโรมันจิเอานะ อิโยโย่อยากให้ลองฝึกอ่านฮิรางานะดู พยายามเข้านะ ถ้าอ่านไม่ออกค่อยคลุมดำเอา
ปล.2 ตัวหน้าสุดจะเป็นตัวคันจิกับคาตาคานะที่ยังไม่ได้เรียน
-----------------------------------------------------------------------------
เมื่อจดจำศัพท์ที่จะเป็นได้แล้ว เรามาดูวิธีแนะนำตัวกันเล้ยยยย
มีแพทเทิ้ลเดิมๆง่ายๆดังนี้
はじめまして。わたしは___です。どうぞ よろしく。おねがいします。
(hajime mashite. watashi wa ... desu. douzo yoroshiku.)
สวัสดีค่ะ/ครับ ดิฉัน/กระผมชื่อ...ค่ะ/ครับ ยินดีที่ได้รู้จัก
มีแพทเทิ้ลเดิมๆง่ายๆดังนี้
はじめまして。わたしは___です。どうぞ よろしく。おねがいします。
(hajime mashite. watashi wa ... desu. douzo yoroshiku.)
สวัสดีค่ะ/ครับ ดิฉัน/กระผมชื่อ...ค่ะ/ครับ ยินดีที่ได้รู้จัก
แอบมาแตกศัพท์
はじめまして เป็นการทักทายของคนญี่ปุ่น ซึ่งจะทักทายกันเพียงครั้งแรกที่เจอหน้ากันเท่านั้น หลังจากนั้นจะใช้คำทักทายอื่น
N1 は N2 です อันนี้ขอเข้าหลักไวยกรณ์นิดนุง นาว1 วะ นาว2 เดส = นาว1 เป็น/คือ นาว2 และตรงนี้จำไปก่อนนะคะว่า は ที่ปกติจะอ่านว่า ฮะ เมื่อมาเป็นคำช่วยจะอ่านว่า วะ แทน กรณีนี้ はทำหน้าที่เป็นคำช่วย เพราะงั้นจะอ่านว่า วะ เอาล่ะมาดูตัวอย่างประโยคกัน
せんせい は タイじん です。 sensei wa taijin desu
ในประโยคนี้เซนเซเป็นN1ตามด้วย วะ และ ไตจินเป็นN2ตามด้วย เดส ตามหลักไวยกรณ์แปลว่า เซนเซคือไตจิน แปลเป็นไทยก็คืออาจารย์เป็นคนไทยนั่นเองค่ะ สวยๆ
わたし は にほんじん です。 watashi wa nihonjin desu แปลว่า ฉันเป็นคนญี่ปุ่น
どうぞ よろしく。แปลว่า ฝากเนื้อฝากตัวด้วย ถ้าอีกฝ่ายอยู่ในระดับเดียวกันพูดว่าよろしくอย่างเดียวก็ได้ค่ะ เพราะมันแฝงความหมายว่ารู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่ง บางที่อาจจะแปลว่ายินดีที่ได้รู้จักก็ได้
おねがいします。แปลว่า ขอความกรุณาด้วย ที่จริงไม่จำเป็นต้องพูดกับทุกคนที่เพิ่งทำความรู้จักก็ได้ แต่เราควรจะพูดเมื่อทำความรู้จักกับคนที่มีอายุมากกว่า หรือ มีฐานะทางสังคมสูงกว่า หรือกับเพื่อนที่เราต้องพึ่งพาเขาหลายอย่าง เช่น เพื่อนที่จะมาเป็นรูมเมทเรา
โดยปกติ คำว่าおねがいจะแปลว่าขอความกรุณาอยู่แล้ว จึงเติมเข้ามาเพื่อให้ดูสุภาพยิ่งขึ้น แต่ถ้าเป็นเพื่อนกันธรรมดาจะไม่นิยมพูด
はじめまして เป็นการทักทายของคนญี่ปุ่น ซึ่งจะทักทายกันเพียงครั้งแรกที่เจอหน้ากันเท่านั้น หลังจากนั้นจะใช้คำทักทายอื่น
N1 は N2 です อันนี้ขอเข้าหลักไวยกรณ์นิดนุง นาว1 วะ นาว2 เดส = นาว1 เป็น/คือ นาว2 และตรงนี้จำไปก่อนนะคะว่า は ที่ปกติจะอ่านว่า ฮะ เมื่อมาเป็นคำช่วยจะอ่านว่า วะ แทน กรณีนี้ はทำหน้าที่เป็นคำช่วย เพราะงั้นจะอ่านว่า วะ เอาล่ะมาดูตัวอย่างประโยคกัน
せんせい は タイじん です。 sensei wa taijin desu
ในประโยคนี้เซนเซเป็นN1ตามด้วย วะ และ ไตจินเป็นN2ตามด้วย เดส ตามหลักไวยกรณ์แปลว่า เซนเซคือไตจิน แปลเป็นไทยก็คืออาจารย์เป็นคนไทยนั่นเองค่ะ สวยๆ
わたし は にほんじん です。 watashi wa nihonjin desu แปลว่า ฉันเป็นคนญี่ปุ่น
どうぞ よろしく。แปลว่า ฝากเนื้อฝากตัวด้วย ถ้าอีกฝ่ายอยู่ในระดับเดียวกันพูดว่าよろしくอย่างเดียวก็ได้ค่ะ เพราะมันแฝงความหมายว่ารู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่ง บางที่อาจจะแปลว่ายินดีที่ได้รู้จักก็ได้
おねがいします。แปลว่า ขอความกรุณาด้วย ที่จริงไม่จำเป็นต้องพูดกับทุกคนที่เพิ่งทำความรู้จักก็ได้ แต่เราควรจะพูดเมื่อทำความรู้จักกับคนที่มีอายุมากกว่า หรือ มีฐานะทางสังคมสูงกว่า หรือกับเพื่อนที่เราต้องพึ่งพาเขาหลายอย่าง เช่น เพื่อนที่จะมาเป็นรูมเมทเรา
โดยปกติ คำว่าおねがいจะแปลว่าขอความกรุณาอยู่แล้ว จึงเติมเข้ามาเพื่อให้ดูสุภาพยิ่งขึ้น แต่ถ้าเป็นเพื่อนกันธรรมดาจะไม่นิยมพูด
พอเข้าใจความหมายของการแนะนำตัวแล้ว
เราลองมาดูการสนทนาง่ายๆกันบ้างดีกว่า
บทนี้ อิโยโย่จะแนะนำตัวกับทุกคนนะคะ
はじめまして。わたし は ヨヨー です。
タイからきました。どうぞ よろしく おねがいします。
hajime mashite. watashi wa yoyo desu.
taikara kimashita. douzo yoroshiku onegaishimasu.
แปลว่า
สวัสดีค่ะ ดิฉันชื่อ โยโย่ ค่ะ
มาจากประเทศไทยค่ะ ฝากเนื้อฝากตัวด้วย
ปล.ใครที่เคยดูการ์ตูนอาจจะเคยได้ยินคำว่า わたしは_ともうします。(watashi wa _ tomoushimasu.)มาบ้าง มันมีความหมายเดียวกันกับですนั่นแหล่ะค่ะ แต่ともうしますมันจะดูสุภาพมากกว่า (ทั้งๆที่ですก็สุภาพอยู่แล้ว) เป็นรูปถ่อมตัวรูปหนึ่ง
ทางอีกฝ่ายก็ควรจะตอบว่า
こちらこそよろしく
kochirakoso yoroshiku
ทางนี้ก็ขอฝากเนื้อฝากตัวด้วยเช่นกัน
ส่วนเวลาที่เราต้องการจะถามชื่ออีกฝ่าย เราจะพูดว่า
しつれいですが、おなまえは?
shitsurei desuga , onamaewa ?
ขอโทษนะคะ/ครับ คุณชื่ออะไร
เราลองมาดูการสนทนาง่ายๆกันบ้างดีกว่า
บทนี้ อิโยโย่จะแนะนำตัวกับทุกคนนะคะ
はじめまして。わたし は ヨヨー です。
タイからきました。どうぞ よろしく おねがいします。
hajime mashite. watashi wa yoyo desu.
taikara kimashita. douzo yoroshiku onegaishimasu.
แปลว่า
สวัสดีค่ะ ดิฉันชื่อ โยโย่ ค่ะ
มาจากประเทศไทยค่ะ ฝากเนื้อฝากตัวด้วย
ปล.ใครที่เคยดูการ์ตูนอาจจะเคยได้ยินคำว่า わたしは_ともうします。(watashi wa _ tomoushimasu.)มาบ้าง มันมีความหมายเดียวกันกับですนั่นแหล่ะค่ะ แต่ともうしますมันจะดูสุภาพมากกว่า (ทั้งๆที่ですก็สุภาพอยู่แล้ว) เป็นรูปถ่อมตัวรูปหนึ่ง
ทางอีกฝ่ายก็ควรจะตอบว่า
こちらこそよろしく
kochirakoso yoroshiku
ทางนี้ก็ขอฝากเนื้อฝากตัวด้วยเช่นกัน
ส่วนเวลาที่เราต้องการจะถามชื่ออีกฝ่าย เราจะพูดว่า
しつれいですが、おなまえは?
shitsurei desuga , onamaewa ?
ขอโทษนะคะ/ครับ คุณชื่ออะไร
แอบมาแตกศัพท์
しつれいですが、 แปลว่า ขอโทษนะคะ/ครับ
คำว่าしつれいเนี่ย จริงๆแล้วแปลว่าเสียมารยาท ดังนั้นคำแปลที่ว่าขอโทษนะคะ/ครับเนี่ย จะหมายถึง ขอเสียมารยาท น่ะค่ะ ในที่นี้คือขอเสียมารยาทถามชื่อ
が อันนี้เป็นไวยกรณ์อีกแล้ว ตัวนี้มีหลายความหมายด้วยกัน แต่ในที่นี้จะเป็นการเกริ่นนำหัวข้อข้างหน้าเพื่อประโยคด้านหลัง ซึ่งตัวนี้ไม่มีความหมายในไทยค่ะ มาดูตัวอย่างกัน
すみませんが、ここですわってもいいですか。sumimasen ga koko de suwatte mo ii desuka. แปลว่า ขอโทษนะคะ/ครับ ขอนั่งตรงนี้ได้ไหมคะ
คือ ตัวอย่างอันนี้ออกจะยากเกินไปหน่อยสำหรับบทแรก แต่ไม่ต้องสนละกันนะคะ อยากให้เห็นว่าคำว่า すみませんโดยตัวมันเองมันแปลว่าขอโทษอยู่แล้ว ส่วนここですわってもいいですかก็แปลว่าขอนั่งตรงนี้ได้ไหมอยู่แล้ว ไม่ต่างจากเติมが ไม่เติม が เลยค่ะ แต่เติมเพื่อต้องการเกริ่นประโยคแรก เน้นประโยคหลัง และเมื่อเติมがเข้าไปมันจะดูสุภาพขึ้นอีกด้วย
おなまえは? แปลว่าคุณชื่ออะไร คำว่าなまえแปลว่าชื่อค่ะ ส่วนおจะเติมหน้าคำนามบางคำเพื่อให้ดูสุภาพขึ้น ซึ่งในไทยเราไม่มีคำแปลค่ะ
เช่น おはなび ohanabi ฮานาบิแปลว่าดอกไม้ไฟค่ะ
เช่น おはなび ohanabi ฮานาบิแปลว่าดอกไม้ไฟค่ะ
เวลาตอบก็ตอบว่า
わたしは_です。
ก็พอแล้วค่ะ
แปลว่าฉันคือ...ค่ะ/ครับ
จบไปอีกตอน เย้ๆๆ
หวังว่าผู้อ่านอ่านมาถึงตรงนี้จะแนะนำตัวเองอย่างง่ายๆเป็นนะคะ
>3<!!
わたしは_です。
ก็พอแล้วค่ะ
แปลว่าฉันคือ...ค่ะ/ครับ
จบไปอีกตอน เย้ๆๆ
หวังว่าผู้อ่านอ่านมาถึงตรงนี้จะแนะนำตัวเองอย่างง่ายๆเป็นนะคะ
>3<!!
พบกันใหม่ตอนหน้าจ้าาา
แอบฝากเพลง ครั้งหน้าอิโยโย่จะเอาเพลงนี้มาเป็นสื่อใช้เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นทั้งศัพท์และไวยกรณ์ค่ะ
ฝากไปฟังกันก่อนนะ ^_^
บ้ายบายจ้าาา >3<
ปล.ขอบคุณธีมจากhttp://writer.dek-d.com/Cute_Girl/story/viewlongc.php?id=856593&chapter=23
แอบฝากเพลง ครั้งหน้าอิโยโย่จะเอาเพลงนี้มาเป็นสื่อใช้เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นทั้งศัพท์และไวยกรณ์ค่ะ
ฝากไปฟังกันก่อนนะ ^_^
บ้ายบายจ้าาา >3<
ปล.ขอบคุณธีมจากhttp://writer.dek-d.com/Cute_Girl/story/viewlongc.php?id=856593&chapter=23
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
ความคิดเห็น