ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    physic ม.ปลาย

    ลำดับตอนที่ #4 : แสงและการเห็น

    • อัปเดตล่าสุด 14 พ.ค. 54


    อยากกระโดดกอด จขกท ที่ให้เนื้อหานี้ มากมาย อธิบายซ่ะเข้าใจเลย

    v

    v

    สมบัติของแสง

    แสง

                แสงเป็นคลื่นจึงมีสมบัติ 4 ประการ คือ

                            1. การสะท้อน                         2. การหักเห

                            3. การเลี้ยวเบน                       4. การแทรกสอด

     


              กระจกเว้า ( ใช้จุด C เป็นหลัก )

               

     


    เลนส์นูน (ใช้จุด 2F เป็นหลัก )

     

     

     

    หลักการจำ 

                เลนส์นูนและกระจกเว้า ให้ทั้งภาพจริง และภาพเสมือน ภาพจริงมีทั้งขนาดเล็ก และใหญ่กว่าวัตถุ ภาพเสมือน มีแต่ขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ

                เลนส์เว้าและกระจกนูน ให้ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุอย่างเดียวเท่านั้น

     

    1    =  1  +  1

     f         s       s’

    **f    =  R

                 2


    หลักการคำนวณกระจกและเลนส์

     f – คือระยะโฟกัส

     s – คือระยะวัตถุ

     s’ - คือระยะภาพ

    กำลังขยาย m  =  I   =  S’

                            O       S


      I – ขนาดภาพ

      O – ขนาดวัตถุ

     

    การใช้เครื่องหมายในการคำนวณ

     

     

     

     

    กระจกเว้าหรือเลนส์นูน 

    กระจกนูนหรือเลนส์เว้า 

    ความยาวโฟกัส (f)

    + เพราะรวมแสงมาตัดกันจริง

    - เพราะกระจายแสง จึงไม่มีแสงมาตัดกัน

    ระยะวัตถุ (S)

    +

    +

    ระยะภาพ (S’)

    + ถ้าเป็นภาพจริง

    - ถ้าเป็นภาพเสมือน

    - เพราะให้ภาพเสมือนเท่านั้น

     

     

     

     

    **หมายเหตุ

                1. ถ้าเป็นกระจกจะมีสูตร     f  = R/2   ซึ่งจะเป็นจริงเฉพาะกระจกโค้ง ที่มีความโค้งน้อย   และบานเล็ก ๆ   เท่านั้น   ถ้าเป็นเลนส์ห้ามใช้สูตรนี้ ต้องใช้สูตรคือ  

    1/f  =  (n-1)[1/R+ 1/R2] จึงต้องทราบทั้งค่า n ของแก้ว และ R ของเลนส์ทั้งสองข้างจึงหา f ได้

    m  = s’- f

               f  

     

     m  =    f

              s - f


                2. ถ้ารวมสูตร    m = I/O = S’/ S  เข้ากับ  1/f  = 1/S+1/S’        จะได้สูตร

     

                3. การแทนค่าในสูตรต้องคิดเครื่องหมาย +,- ด้วย โดยภาพจริงใช้ mเป็นบวก,ภาพเสมือนใช้ m เป็นลบ

     

    การเกิดภาพซ้อนที่เดียวกับวัตถุ

                หลัก

                1. จะเกิดภาพที่เดียวกับวัตถุได้แสดงว่าแสงต้องเคลื่อนที่ไปตกตั้งฉากกับกระจก

    แล้วสะท้อนกลับทางเดิม รังสีของแสงจึงมาตัดกันที่เดิม

                2. ควรใช้วัตถุเป็นจุด เพื่อให้เขียนทางเดินแสงได้ง่าย

     


    1. วางวัตถุที่จุดศูนย์กลางความโค้ง ( C ) ของกระจกเว้า

     

     

                แนวรังสีจะอยู่ในแนวรัศมีวงกลม จึงตกตั้งฉากกับผิวกระจกเว้าแล้วสะท้อนกลับทางเดิม

     

     

     

     


    2. วางวัตถุที่จุดโฟกัสของเลนส์นูน (F) ที่วางหน้ากระจกเงาราบ

     

                เมื่อวางวัตถุไว้ที่จุดโฟกัสของเลนส์นูน จะได้รังสีขนาดซึ่งเมื่อตกตั้งฉากกระจกเงาราบ รังสีจะสะท้อนกลับทางเดิม

                สังเกต ไม่ว่ากระจกกับเลนส์จะห่างกันเท่าใด จะให้ผลเช่นเดียวกัน

     


    3. วางวัตถุที่จุดใด ๆ หน้าเลนส์นูนที่วางกระจกนูน

     

     

                วางวัตถุไว้ที่จุดใดก็ตามหน้าเลนส์นูน จะเกิดการรวมแสงให้แคบลงมา ถ้าจัดให้รังสีที่ผ่านเลนส์นูนมีแนวตรงกับจุด C ของกระจกนูน รังสีนั้นจะตกตั้งฉากผิวกระจกนูนทำให้สะท้อนกลับทางเดิม

     


    ช่องคู่และช่องเดี่ยว

     

                ถ้าให้แสงเคลื่อนที่มาพบสิ่งกีดขวางที่มีช่องเปิดเล็ก ๆ 1 ช่อง จะเรียกว่า “ช่องเดี่ยว” และถ้ามีช่องเปิดเล็ก ๆ 2ช่อง จะเรียกว่า “ช่องคู่” ซึ่งแสงที่ผ่านช่องเดี่ยวและช่องคู่จะสามารถเลี้ยวเบนได้ทั้งคู่ แต่จะมีลักษณะการแทรกสอดที่แตกต่างกัน ซึ่งจะสังเกตได้บนฉากที่ไปรับแสงด้านหลังสลิต

     


              ช่องคู่

    เกิดจากช่องแถบคู่

                ช่องคู่  แนวปฏิบัพจะลงตัวเป็น   1λ , 2 λ ,  3λ ,…


                            แนวบัพจะลงครึ่งเริ่มจาก 0.5 λ , 1.5 λ , 2.5 λ ,…

    สูตร    S1P  -  S2P    

    แถบสว่าง

    สูตรแถบสว่าง

    แถบมืด

    สูตรแถบมืด

     

    **หมายเหตุ

                d ในสูตรช่องคู่ คือ ระยะห่างระหว่างกึ่งกลางช่อง

     

     

     

                แถบสว่างทุกแถบมีความกว้างเท่ากัน และแถบที่อยู่ติดกันจะมีความสว่างใกล้เคียงกัน (ถ้าช่องแคบมากและฉากอยู่ไกลถือว่าทุกแถบสว่างเท่ากัน)


                ช่องเดี่ยว

      จากช่องแคบเดี่ยว

                ช่องเดี่ยว         แนวบัพจะลงตัวเป็น 1 λ , 2 λ , 3 λ ,…

                                        แนวปฏิบัพจะลงครึ่งเริ่มจาก 1.5 λ , 2.5 λ , 3.5 λ ,…

    แถบสว่าง

    สูตรแถบมืด

    แถบมืด 

    สูตรแถบสว่าง

    **หมายเหตุ

                d ในสูตรช่องเดี่ยวคือความกว้างช่อง

     

    แถบสวางกลางกว้างเป็น 2 เท่าของแถบอื่น และมีความสว่างแตกต่างกันมากโดยแถบสว่างกลางสว่างที่สุด แถบอื่นยังเบนจากแนวกลางยิ่งสว่างลดลงเรื่อย ๆ

     

    มุมวิกฤต ( Critical angle, θc ) และการสะท้อนกลับหมด


    -          เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มี n มากเข้าสู่ตัวกลางที่มี n น้อย รังสีจะเบนออกจากเส้นแนวฉาก

    -          มุมวิกฤต θc คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหเป็น 90 °

                            จากสูตร             n1sinθ1        =          n2sin θ


                                                        . .  n1sinθc           =          n2sin  90 °

     

    หมายเหตุ

                1. ถ้าไม่กำหนดว่าออกสู่ตัวกลางใด ให้หมายความว่าออกสู่อากาศ(n=1) นั่นคือถ้าทราบมุมวิกฤตจะทราบค่าดรรชนีหักเหของตัวกลางแรกทันที

                                       

                                        . . .    n1sinθc =          nอากาศ sin  90 °

                                                    n1sinθc         =         (1)(1)

              


                                        n1                   =           1

                                                                                        sinθc

                2. ถ้ามุมตกกระทบใหญ่กว่ามุมวิกฤตจะไม่มีการหักเห แต่เกิดการสะท้อนกลับหมด ซึ่งจากหลักการดังกล่าวได้นำไปใช้ทำ “เส้นใยนำแสง” โดยให้สารที่มี n มากอยู่ด้านในเคลือบด้วยสารที่มี n น้อยอยู่ด้านนอก เป็นเส้นใยที่บางมากขนาด 0.01-0.1 mm. มามัดรวมกันนับร้อยเส้น

               

    3. มุมวิกฤตของน้ำ                  =          49 °

                    มุมวิกฤตของแก้ว                =          42 °

                    มุมวิกฤตของเพชร              =          24 °

     

     

    ความผิดปกติของตา

                หลัก

    1.      คนปกติจะมองเห็นภาพได้ชัดเจนเมื่อแสงมารวมกันตกที่เรตินาพอดี

    2.   คนปกติเห็นได้ใกล้ที่สุดประมาณ 25 เซนติเมตร จากตาเรียกว่า“จุดใกล้” และมองเห็นไกลสุดที่ ∞ เรียกว่า ”จุดไกล”

     สายตาสั้น

                T มองเห็นแค่ระยะใกล้ ๆ ระยะไกล ๆ จะเห็นไม่ชัด (นั่นคือ จุดใกล้เท่าเดิม แต่จุดไกลไม่ใช่ คือจะอยู่ใกล้ตาเข้ามา)

                T  สายตาสั้น เพราะแสงตกสั้นเกินไป คือ ตกก่อนถึงเรตินา


                T แก้ไขโดยใช้เลนส์เว้า ช่วยถ่างแสง ให้ตกที่เรตินาพอดี

     

     

     

    สายตายาว

                T มองเห็นแค่ระยะยาว ๆ ระยะใกล้ ๆ จะมองไม่เห็น (นั่นคือ จุดไกลเท่าเดิม แต่จุดใกล้ไม่ใช่ 25 เซนติเมตร แต่จะไกลตาออกไปอีก)

                T สายตายาว เพราะแสงตายาวเกินไป คือ ตกเลยเรตินา

                T แก้ไขโดย ใช้เลนส์นูนช่วงรวมแสง ให้ตกที่เรตินาพอดี

     

     

     

     

    แบบฝึกหัด

     1.แสงความยาวคลื่นในสุญญากาศ 525 นาโนเมตร เมื่อเคลื่อนที่ผ่านไปในแก้วที่มีดัชนีหักเห 1.50 ความยาวคลื่นแสงในแก้วจะเป็นกี่นาโนเมตร

     

    2.มีเลนส์นูน 2 อัน โดยเลนส์แรกมีทางยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร และเลนส์ที่สองมีทางยาวโฟกัส 12.5 เซนติเมตร เลนส์ที่สองนี้วางห่างจากเลนส์แรกไปทางขวาเป็นระยะ 40 เซนติเมตร ถ้าวางวัตถุ A ไว้ด้านหน้าเลนส์แรกห่างจสกเลนส์แรกไปทางซ้ายเป็นระยะ 30 เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างภาพสุดท้ายที่เกิดเนื่องจากการหักเหผ่านเลนส์ทั้งสองกับวุตถุ A นี้เป็นกี่เซนติเมตร

     

    3.คนมองปลาในสระน้ำในแนวทำมุม 30 องศา กันแนวราบ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าข้อใดถูก

                1. คนเห็นปลาตื้นกว่าที่เป็นจริง                      2. คนเห็นปลาลึกกว่าที่เป็นจริง

                3. คนเห็นปลาตามตำแหน่งที่เป็นจริง             4. คนเห็นปลากลับซ้าย-ขวา

     

    4.แสงสีแดงผสมกับแสงสีเขียว ได้สี

                1. แดงม่วง      2. แดงขาว       3. น้ำเงิน          4. เหลือง

     

    5.เมื่อให้แสงที่มีค่าความยาวคลื่น 440 นาโนเมตร ผ่านสลิตคู่ที่มีระยะห่างระหว่างช่องทั้งสอง 200 ไมโครเมตร จะเกิดการแทรกสอดบนฉากที่อยู่ห่างออกไป 1.20 เมตร จงหาระยะระหว่างแถบสว่างที่อยู่ติดกันในหน่วยมิลลิเมตร

     

    6. แสงเคลื่อนที่จากใต้น้ำ (ดัชนีหักเห = n1 ) ตกกระทบที่ผิวรอยต่อกับอากาศ (ดัชนีหักเห = 1) ด้วยมุมวิกฤติ ถ้าเผอิญมีน้ำมัน (ดัชนีหักเห = n2 ) ลอยมาอยู่เหนือผิวน้ำพอดี มุมหักเหของแสงนี้ในน้ำมันเป็นเท่าใด

     

    7. ในการทดลองเพื่อหาความยาวคลื่นของแสงโดยใช้เกรตติง เมื่อใช้แสงสีเดียวส่องผ่านเกรตติง จะสังเกตเห็นแถบสว่างลำดับที่ 1 อยู่ ณ ตำแหน่ง 10 และ 90 เซนติเมตรบนไม้เมตร แถบสว่างทั้งสองต่างก็อยู่ห่างจากเกรตติงเป็นระยะ 1เมตร ถ้าเกรตติงที่ใช้มีจำนวน 104 ช่องต่อความยาว 1 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นของแสง

     

    8. ถ้าต้องการให้ตำแหน่งมืดแรกของการเลี้ยวเบนผ่านสลิตเดี่ยวเกิดตรงกับตำแหน่งมืดที่สามของริ้วจากการแทรกสอดของสลิตคู่ อยากทราบว่าจะต้องให้ระยะห่างระหว่างช่องสลิตคู่เป็นกี่เท่าของความกว้างของสลิตเดี่ยว

     

    9. นำวัตถุมาวางด้านหน้าของกระจกเว้าที่มีรัศมีความโค้ง 35.0 เซนติเมตร โดยวางห่างจากกระจกเป็นระยะ ที่ทำให้เกิดภาพจริงขนาดใหญ่เป็น 2.5 เท่าของวัตถุ อยากทราบว่าวัตถุห่างจากกระจกเป็นระยะเท่าใด

     

    10. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูก

    1.      ภาพเสมือนจะเกิดขึ้นเสมอ หากวัตถุอยู่ด้านหน้ากระจกนูน

    2.      ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ เป็นภาพจริงเสมอ

    3.   ภาพที่เกิดจากกระจกเว้ามีได้กรณีเดียวคือ วัตถุจะต้องอยู่ห่างจากผิวกระจกน้อยกว่าความยาวโฟกัสของกระจก

    4.      ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า เป็นได้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน

     

     

    เฉลย

    1.                         nλ     =    nnλn

                                           1(525)   =    1.50λn

                                  . .     =     350 นาโนเมตร

     


    2.

     

     

                คิดเลนส์ f1


                                        1             =        1  +  1

                                        f1                          S1       S’


                                    1      =        1  +  1

                                      15                          30     S’ 

                                        S’             =       30

                            . . .  ระยะวัตถุ S  =  40 – 30  =  10 เซนติเมตร

                คิดเลนส์ f2


                                        1              =      1   +  1

                                        f2                       S2      S’2


                                        1             =      1   +   1

                                     12.5                     10         S’2                            

                                        S’2             =     -50 ซม.

                            . . .  ภาพสุดท้ายอยู่ห่างจากวัตถุ A  =  (30 + 40) – 50 ซม.

                                                                                     =  20 ซม.


    3.        

     

    เฉลยข้อ 1

                            แสงจากปลาออกสู่อากาศ (เข้าตาคน) จะเบนออกจากเส้นแนวฉาก

                                        ทำให้ θ2  > θ1

                                                    เมื่อแสงเข้าตา ตาจะมองเห็นเป็นแนวเส้นตรง ทำให้เห็นปลาตื้นขึ้นมาจากความเป็นจริง

     


    4.

     

    เฉลยข้อ 4

                จากรูปจะเห็นว่า ถ้าผสมแสงสีแดงกับสีเขียว จะได้สีเหลือง

     

     

     

     

     


    5.                                                                                   

     

                            คิด A จากแนวกลาง

                                        d  X       =      1 λ


                                            L

                  200 X  106  (  X   )     =  440 X 10-9


                                      1.20

                                            X      =   2.64 X 10-3  เมตร

                                                     =   2.64  มิลลิเมตร

     


    6.

     

                เดิมจากน้ำสู่อากาศ (ทำมุมวิกฤต)

                            . . . n sin θc              =          nอากาศ sin 90°

                                  nsin θc              =          1


                                        sin θc

    credit http://ylsc.igetweb.com/index.php?mo=3&art=277305

    http://www.icphysics.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=50 
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×