ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    • ฟอนต์ THSarabunNew
    • ฟอนต์ Sarabun
    • ฟอนต์ Mali
    • ฟอนต์ Trirong
    • ฟอนต์ Maitree
    • ฟอนต์ Taviraj
    • ฟอนต์ Kodchasan
    • ฟอนต์ ChakraPetch
physic ม.ปลาย

ลำดับตอนที่ #3 : แรง มวล และกฎการเึคลื่อนที่

  • อัปเดตล่าสุด 18 มี.ค. 54


แรง (F) สิ่งที่กระทําตอวัตถุในรูปของการพยายามดึงหรือดันที่จะทําใหวัตถุเคลื่อนที่ซึ่งแรงเปนปริมาณเวกเตอร  มีหนวยเปนนิวตัน  (N)  โดยที่  1 N  = 1 kg.m/s

 แรงเสียดทาน มีทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ ซึ่งขึ้นอยู่กับมวล ถ้าพื้นที่ผิวยิ่งมากก็จะมีแรงเสียดทานมาก
และผิวขรุขระก็มีแรงเสียดทานมากกว่า และยางเสียดทานมากกว่าไม้
แรงเสียดทานสถิต (Static  Frictionคือ  แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุยังไม่เคลื่อนที่อยู่นิ่ง) จนกระทั่งวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ เช่น  ออกแรงผลักรถแล้วรถยังอยู่นิ่ง  เป็นต้น
แรงเสียดทานจลน์  (Kinetic Friction)  คือ  แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุขณะที่วัตถุกำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว  เช่น  การกลิ้งของวัตถุ  การลื่นไถลของวัตถุและการไหลของวัตถุ เป็นต้น 
สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน  (  coefficient  of  friction  ) 
 
มวล(m) คือปริมาณของวัตถุที่ต้านการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ มวลเป็นปริมาณ สเกลาร์ มีหน่วยวัดเป็นกิโลกรัม(kg)
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 1 ของนิวตัน ( Newton’s first law of  motion )  เปนกฎที่เนนถึงสภาพเดิมของการเคลื่อนที่ดังนี้“ ถาไมมีแรงภายนอกกระทําตอวัตถุวัตถุจะอยูในสภาวะเดิมของการเคลื่อนที่ ” กลาวคือ ถาวัตถุหยุดนิ่งก็จะหยุดนิ่งตอไป ซึ่งเรียกวา สมดุลสถิต ( static equilibrium ) และถาวัตถุเคลื่อนที่ก็จะเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ตอไป ซึ่งเรียกวา ( kinetic equilibrium ) เขียนความสัมพันธไดดังนี้        
 ∑ F = 0
Photobucket
 
กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน ( Newton’s second law of motion ) 
“ ถามีแรงลัพธที่ไมเทากับศูนยกระทํากับวัตถุอันหนึ่ง จะทําใหวัตถุอันนั้นมีความเรง  ในทิศทางเดียวกับทิศ
ทางของแรงนั้น  โดยมีขนาดแปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ  และแปรผกผันกับมวลของวัตถุนั้น ”
 
สรุปคือ นิวตันได้ให้ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุไว้ว่า
 ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่” 
นั่นคือ ความเร็วของวัตถุอาจจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงหรืออาจเปลี่ยนแปลงทิศทางการเคลื่อนที่
เรียกว่า วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
 
Photobucket
 
กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 3 ของนิวตัน ( Newton’s third law of motion )
 “ ทุกแรงกิริยา ( action ) จะตองมีแรงปฏิกิริยา ( reaction ) ทีมีขนาดเทากัน
 และมีทิศทางตรงขามเสมอ”
Photobucket

นำกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันไปใช้

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันทั้ง 3 ข้อเป็นความรู้พื้นฐานที่สำคัญมากในวิชาฟิสิกส์ ซึ่งสามารถทำให้เข้าใจ

หรือใช้อธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุทุกชนิด และยังเป็นพื้นฐานสำหรับ

การนำไปศึกษาเรื่องอื่น ๆ ในบทต่อ ๆ ไป และการแก้ปัญหาในปัญหาต่าง ๆที่กล่าวมาสามารถนำเอา

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมาวิเคราะห์เป็นขั้นตอนได้ ดังต่อไปนี้

1. หาดูว่า “วัตถุ” อันไหนที่ต้องการพิจารณา

2. หลังจากเลือกวัตถุแล้ว ให้พิจารณาถึงสิ่งแวดล้อมของวัตถุนั้น เช่น เป็นพื้นเอียง  เป็นสปริง  เชือก โลก  เป็นต้น  

เพราะสิ่งแวดล้อมเหล่านี้อาจออกแรงกระทำกับวัตถุของเรา

3. เลือกแกนอ้างอิง(แนวดิ่ง และ/หรือ แนวราบ )ให้เหมาะสม โดยให้วัตถุอยู่ที่จุดกำเนิด พร้อมทั้งตั้งแกนให้ง่าย

ต่อการพิจารณาต่อไป

4. วาดรูปวัตถุนั้นแยกออกจากส่วนอื่นๆ แสดงแกนอ้างอิงและแรงทั้งหมดที่กระทำต่อวัตถุ

ซึ่งเรียกว่า free-body diagram

5. ใช้กฎข้อที่ 2 ของนิวตันในการวิเคราะห์ปัญหาดังกล่าว

น้ำหนัก (W)

w=mg

เนื่องจากน้ำหนักเป็นแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ น้ำหนักจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศเดียวกับความเร่ง g ดังนั้น

น้ำหนักจึงมีทิศพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลางโลกเสมอ โดยมีหน่วย นิวตัน (N)

กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล

"วัตถุทั่งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ

จะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมาลวัตถุที่สองและจะแปรผกผันกับกำลังสองชองระยะทางระหว่าง

วัตถุทั้งสองนั่น"

clip_image002

clip_image004

เมื่อ m1 และ m2 เป็นมวลของวัตถุแต่ละก้อน มีหน่วยเป็น กิโลกรัม 
R เป็นระยะระหว่างมวล m1 กับm2 มีหน่วยเป็น เมตร 
G เป็นค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล เท่ากับ 6.673 x10-11 นิวตัน – เมตรต่อกิโลกรัม
FG เป็นแรงดึงดูดระหว่างมวล m1 กับm2 มีหน่วยเป็น นิวตัน

clip_image008

มวลของโลก
 จากรูป วัตถุมวล m อยู่ที่ผิวโลกซึ่งมีมวล me มีรัศมี Re วัตถุและโลกต่างดูดซึ่งกันและกันด้วยแรง Fe มีค่าเป็น
clip_image010
clip_image012
clip_image014
clip_image016
 me = 5.98clip_image006[1]10clip_image020 kg
 
ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง ณ ตำแหน่งห่างจากโลก
clip_image022
 
กลัวจะงงกันจังเลย อยากยกตัวอย่างอ่ะ จะได้เข้าใจ
 

นักบินอวกาศหญิงหามวลของตัวเธอเองบนอวกาศ  เพราะไม่สามารถจะชั่งหามccวลในอวกาศได้ 

โดยเธอนั่งบนเก้าอี้ที่ติดกับสปริงดังรูป  ถ้าเก้าอี้มีมวล  15  kg  ขณะกำลังเคลื่อนที่

ด้วยความเร่ง  24  mm/s2  ให้สปริงมีแรงดึงกลับ  1.8  N  จงหาว่ามวลของเธอเป็นเท่าไร

วิธีทำ   

จากกฎข้อที่สองของนิวตัน   F  =  ma

ย้ายข้างจะได้               m   =   F/a   

=  1.8  N  / 24 x 10-3  m/s2     

=    75   kg

เป็นมวลที่รวมมวลของเก้าอี้ด้วย   ด้งนั้นต้องลบมวลของเก้าอี้  15  kg  ออก

จะได้มวลของนักบินอวกาศ  60  kg

ลืมอธิบาย โจทย์ที่มีมุมอ่ะค่ะ



งงกันไหมเนี่ย สงสัยถามได้น่ะค่ะ

ต่อไปเป็นโจทย์แรงดึงดูดน่ะ

ทำโจทย์เยอะๆน่ะค่ะ
 
ขอขอบคุณ
อ.สุนันทศักดิ์  ระวังวงศ์ http://psc.pbru.ac.th/lesson/index-power.html
 
by wickynana
 
ติดตามเรื่องนี้
เก็บเข้าคอลเล็กชัน

ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

ความคิดเห็น

กำลังโหลด...

ความคิดเห็น

กำลังโหลด...
×
แทรกรูปจากแกลเลอรี่ - Dek-D.com
L o a d i n g . . .
x
เรียงตาม:
ใหม่ล่าสุด
ใหม่ล่าสุด
เก่าที่สุด
ที่กำหนดไว้
*การลบรูปจาก Gallery จะส่งผลให้ภาพที่เคยถูกนำไปใช้ถูกลบไปด้วย

< Back
แทรกรูปโดย URL
กรุณาใส่ URL ที่ขึ้นต้นด้วย
http:// หรือ https://
กำลังโหลด...
ไม่สามารถโหลดรูปภาพนี้ได้
*เมื่อแทรกรูปเป็นการยืนยันว่ารูปที่ใช้เป็นของตัวเอง หรือได้รับอนุญาตจากเจ้าของ และลงเครดิตเจ้าของรูปแล้วเท่านั้น
< Back
สร้างโฟลเดอร์ใหม่
< Back
ครอปรูปภาพ
Picture
px
px
ครอปรูปภาพ
Picture