ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    INSIDE แดจังกึม

    ลำดับตอนที่ #3 : สิ่งที่คุณยังไม่เคยรู้1

    • อัปเดตล่าสุด 7 มี.ค. 49


    1.แดจังกึม . . . บุคคลผู้เป็นตำนาน

    แต่ละประเทศมักมีประวัติ,วัฒนธรรมที่แตกต่าง ก่อเกิดบุคคลที่เป็นตำนานมากมาย และ "แดจังกึม"
    ก็คือสตรีเลื่องชื่อของประเทศเกาหลี....ประเทศเกาหลีในสมัยก่อน ราชวงศ์ "โชซอน" ถือเป็นยุคแห่ง
    ความรุ่งเรือง

    ปี 1392 นายพล "ลี ซอง เกย" สถาปนาตัวเองเป็นพระเจ้า "แท โจ" สวามิภักดิ์ต่อราชวงศ์หมิงของจีน
    เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซอน และนางเอกของเรา "ซอ จังกึม" เกิดในอีก 10 รัชกาลถัดมา,
    คือสมัยพระเจ้า "ยอนซัน" ตอนนั้นสตรีมีฐานะต่ำต้อย แต่เธอมีความกล้าหาญและมุ่งมั่น ฝ่าฟันอุปสรรค
    จนกลายเป็นแม่ครัวมือหนึ่งของวังหลวง ซ้ำยังเป็นแพทย์หญิงคนแรกของเกาหลี ที่ศึกษาหาความรู้
    ด้วยตัวเองจนชำนาญ รับหน้าที่เป็นทั้งแพทย์และผู้ปรุงอาหารในวังหลวง จนเป็นที่ยกย่อง

    2.สวรรค์ดับสูญ

    ชาวเกาหลีชอบศึกษาประวัติศาสตร์ของจีน และจดบันทึกไว้ เช่นในซีรีย์เรื่องนี้จะปรากฎรหัสคำว่า
    "สวรรค์ดับสูญ" ที่มานั้น,มาจากกลุ่มกบฎโพกผ้าเหลืองในสมัย "ตงฮั่น" เป็นการรวมกลุ่มชาวนาต่อต้าน
    ทางการจีนในสมัยนั้นที่ไม่พอใจการปกครอง โดยมีผู้นำชื่อว่า "จางเจี่ยว" ปลุกระดมราษฎรหลายแสน
    คนให้แข็งข้อ โดยใช้รหัสว่า "สวรรค์ดับสูญ ฟ้าสีทองผ่องพรรณ"

    แม้การปฏิวัติในคราวนั้นจะล้มเหลว แต่ก็มีผลกระทบในวงกว้าง....ซึ่งรัชกาลที่สิบของเกาหลีคือพระเจ้า
    "ยอนซัน" มีพระเชษฐานามว่า "ชินซอง" เมื่อพระเจ้ายอนซันถูกปลด เหล่าขุนนางจึงทูลเชิญให้เจ้าชาย
    "ซินซอง" ขึ้นครองราชย์ต่อ ขนานนามว่าพระเจ้า "จุงจง" รหัสในการปฎิวัติครั้งนั้นก็คือ
    "สวรรค์ดับสูญ ฟ้าสีทองผ่องพรรณ"

    3.เครื่องเสวย

    เครื่องเสวยของพระเจ้าเกาหลีนั้น จะมีอาหาร 12 อย่าง บวกกับหม้อไฟ น้ำแกง นอกจากดูอลังการณ์แล้ว
    ยังแฝงความนัยไว้ด้วย

    คุณผู้ชมอยากทราบหรือไม่....ทุกปีราษฎรจะต้องถวายผลิตผลที่ดีที่สุดทางการเกษตร ล่าสัตว์และประมง
    มาเป็นเครื่องบรรณาการยังวังหลวง เพื่อที่ว่า พระราชาได้เห็นของเหล่านี้ จะรู้ว่าราษฎรกินดีอยู่ดีหรือไม่
    เช่นว่า ถ้าอาหารรสเลิศ แสดงว่าบ้านเมืองร่มเย็น แต่ถ้าอาหารลดปริมาณลงหรือวัตถุดิบเปลี่ยนไป
    แสดงว่าแหล่งเพาะปลูกนั้น ๆ เกิดปัญหาหรือมีภัยธรรมชาติ

    4.เครื่องแต่งกาย

    เครื่องแต่งกายของชาวเกาหลีมักเป็นชุดยาว คือ ยาวทั้งเสื้อและกางเกง หากเป็นฤดูหนาวหรือมีพิธีสำคัญ
    ก็จะมีเสื้อคลุมยาวอีกตัว

    จากภาพเขียนในสุสานของราชวงศ์ " โครยอ " เห็นได้ว่าชุดประจำชาติเหล่านี้ มีมาตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 4
    ยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เครื่องแต่งกายของชาวเกาหลีอาจมีเปลี่ยนแปลงบ้าง เช่นในราชวงศ์ "โชซอน"
    ผู้หญิงจะใส่เสื้อที่ลำตัวสั้น หากแต่ท่อนล่างยาวกรุยกราย แต่ไม่ว่าจะเปลี่ยนยังไง ก็ไม่พ้นชุดยาวที่ใส่คลุม
    ทั้งตัว เพื่อให้เข้ากับความเคยชินในการนั่งพื้นของชาวเกาหลีนั่นเอง

    ฉะนั้นไม่ว่าเป็นชุดขุนนาง ชุดลำลองหรือชุดทางการ รูปแบบจะคล้ายกันมาก

    5.ห้อง ใน วังหลวง

    นางกำนัลในวังหลวง ต่างมีภาระหน้าที่ของตัวเอง และสถานที่ทำงานก็มีชื่อเรียกที่แตกต่าง เช่น สถานที่
    หุงข้าวเรียกว่า " ห้องซูชิ " ห้องปอกผลไม้เรียกว่า " ห้องผลไม้ " ห้องตัดเย็บเสื้อผ้ามี " ห้องปัก " กับ
    " ห้องเย็บ " ส่วนที่ปรุงอาหารมีแบ่งครัวในกับครัวนอก อาหารที่ปรุงเสร็จต้องส่งไปที่ " ห้องลำเลียง "
    แล้วค่อยนำขึ้นถวายพระราชาอีกที

    คนที่เป็นนางกำนัลห้องเครื่อง หากได้ทำงานในครัวจะถือเป็นเกียรติอย่างสูง แต่ " ห้องลำเลียง " ก็มี
    ความสำคัญไม่น้อย เพราะเครื่องคาวหวานที่เสวยไม่หมด,จะถูกส่งกลับมายังห้องลำเลียง พอบรรดาซังกุง
    เห็นเข้า จะรู้ว่าโปรดหรือไม่โปรดอะไร วันหลังทำใหม่จะได้ปรับปรุงให้ดีขึ้น

    6.บทบาทของ . . . เกลือ

    สมัยอดีตเกลือมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะตอนนั้นยังไม่มีเทคโนโลยีในการผลิตเกลือ
    แต่ต้องใช้เกลือจำนวนมาก ได้แก่การปรุงอาหาร รักษาบาดแผลและปรุงยา

    แม้แต่การหมักอาหารก็ต้องใช้เกลือเพราะเกลือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต
    หลายประเทศในอดีตจึงมีการเก็บส่วยเกลือขึ้น

    ในซีรี่ย์เรื่องนี้ พี่ชายของ "แชซังกุง" เป็นพ่อค้าเกลือที่ขายให้วังหลวง
    เขาจึงอยากให้ญาติตัวเองมีอำนาจสั่งการในห้องเครื่อง
    เพื่อเป็นรากฐานให้เขาได้รับผลประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

    6.บทบาทของ . . . เกลือ

    สมัยอดีตเกลือมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะตอนนั้นยังไม่มีเทคโนโลยีในการผลิตเกลือ
    แต่ต้องใช้เกลือจำนวนมาก ได้แก่การปรุงอาหาร รักษาบาดแผลและปรุงยา

    แม้แต่การหมักอาหารก็ต้องใช้เกลือเพราะเกลือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต
    หลายประเทศในอดีตจึงมีการเก็บส่วยเกลือขึ้น

    ในซีรี่ย์เรื่องนี้ พี่ชายของ "แชซังกุง" เป็นพ่อค้าเกลือที่ขายให้วังหลวง
    เขาจึงอยากให้ญาติตัวเองมีอำนาจสั่งการในห้องเครื่อง
    เพื่อเป็นรากฐานให้เขาได้รับผลประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

    3.เครื่องเสวย

    เครื่องเสวยของพระเจ้าเกาหลีนั้น จะมีอาหาร 12 อย่าง บวกกับหม้อไฟ น้ำแกง นอกจากดูอลังการณ์แล้ว
    ยังแฝงความนัยไว้ด้วย

    คุณผู้ชมอยากทราบหรือไม่....ทุกปีราษฎรจะต้องถวายผลิตผลที่ดีที่สุดทางการเกษตร ล่าสัตว์และประมง
    มาเป็นเครื่องบรรณาการยังวังหลวง เพื่อที่ว่า พระราชาได้เห็นของเหล่านี้ จะรู้ว่าราษฎรกินดีอยู่ดีหรือไม่
    เช่นว่า ถ้าอาหารรสเลิศ แสดงว่าบ้านเมืองร่มเย็น แต่ถ้าอาหารลดปริมาณลงหรือวัตถุดิบเปลี่ยนไป
    แสดงว่าแหล่งเพาะปลูกนั้น ๆ เกิดปัญหาหรือมีภัยธรรมชาติ

    4.เครื่องแต่งกาย

    เครื่องแต่งกายของชาวเกาหลีมักเป็นชุดยาว คือ ยาวทั้งเสื้อและกางเกง หากเป็นฤดูหนาวหรือมีพิธีสำคัญ
    ก็จะมีเสื้อคลุมยาวอีกตัว

    จากภาพเขียนในสุสานของราชวงศ์ " โครยอ " เห็นได้ว่าชุดประจำชาติเหล่านี้ มีมาตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 4
    ยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เครื่องแต่งกายของชาวเกาหลีอาจมีเปลี่ยนแปลงบ้าง เช่นในราชวงศ์ "โชซอน"
    ผู้หญิงจะใส่เสื้อที่ลำตัวสั้น หากแต่ท่อนล่างยาวกรุยกราย แต่ไม่ว่าจะเปลี่ยนยังไง ก็ไม่พ้นชุดยาวที่ใส่คลุม
    ทั้งตัว เพื่อให้เข้ากับความเคยชินในการนั่งพื้นของชาวเกาหลีนั่นเอง

    ฉะนั้นไม่ว่าเป็นชุดขุนนาง ชุดลำลองหรือชุดทางการ รูปแบบจะคล้ายกันมาก

    5.ห้อง ใน วังหลวง

    นางกำนัลในวังหลวง ต่างมีภาระหน้าที่ของตัวเอง และสถานที่ทำงานก็มีชื่อเรียกที่แตกต่าง เช่น สถานที่
    หุงข้าวเรียกว่า " ห้องซูชิ " ห้องปอกผลไม้เรียกว่า " ห้องผลไม้ " ห้องตัดเย็บเสื้อผ้ามี " ห้องปัก " กับ
    " ห้องเย็บ " ส่วนที่ปรุงอาหารมีแบ่งครัวในกับครัวนอก อาหารที่ปรุงเสร็จต้องส่งไปที่ " ห้องลำเลียง "
    แล้วค่อยนำขึ้นถวายพระราชาอีกที

    คนที่เป็นนางกำนัลห้องเครื่อง หากได้ทำงานในครัวจะถือเป็นเกียรติอย่างสูง แต่ " ห้องลำเลียง " ก็มี
    ความสำคัญไม่น้อย เพราะเครื่องคาวหวานที่เสวยไม่หมด,จะถูกส่งกลับมายังห้องลำเลียง พอบรรดาซังกุง
    เห็นเข้า จะรู้ว่าโปรดหรือไม่โปรดอะไร วันหลังทำใหม่จะได้ปรับปรุงให้ดีขึ้น

    6.บทบาทของ . . . เกลือ

    สมัยอดีตเกลือมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะตอนนั้นยังไม่มีเทคโนโลยีในการผลิตเกลือ
    แต่ต้องใช้เกลือจำนวนมาก ได้แก่การปรุงอาหาร รักษาบาดแผลและปรุงยา

    แม้แต่การหมักอาหารก็ต้องใช้เกลือเพราะเกลือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต
    หลายประเทศในอดีตจึงมีการเก็บส่วยเกลือขึ้น

    ในซีรี่ย์เรื่องนี้ พี่ชายของ "แชซังกุง" เป็นพ่อค้าเกลือที่ขายให้วังหลวง
    เขาจึงอยากให้ญาติตัวเองมีอำนาจสั่งการในห้องเครื่อง
    เพื่อเป็นรากฐานให้เขาได้รับผลประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

    6.บทบาทของ . . . เกลือ

    สมัยอดีตเกลือมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะตอนนั้นยังไม่มีเทคโนโลยีในการผลิตเกลือ
    แต่ต้องใช้เกลือจำนวนมาก ได้แก่การปรุงอาหาร รักษาบาดแผลและปรุงยา

    แม้แต่การหมักอาหารก็ต้องใช้เกลือเพราะเกลือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต
    หลายประเทศในอดีตจึงมีการเก็บส่วยเกลือขึ้น

    ในซีรี่ย์เรื่องนี้ พี่ชายของ "แชซังกุง" เป็นพ่อค้าเกลือที่ขายให้วังหลวง
    เขาจึงอยากให้ญาติตัวเองมีอำนาจสั่งการในห้องเครื่อง
    เพื่อเป็นรากฐานให้เขาได้รับผลประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

    2.สวรรค์ดับสูญ

    ชาวเกาหลีชอบศึกษาประวัติศาสตร์ของจีน และจดบันทึกไว้ เช่นในซีรีย์เรื่องนี้จะปรากฎรหัสคำว่า
    "สวรรค์ดับสูญ" ที่มานั้น,มาจากกลุ่มกบฎโพกผ้าเหลืองในสมัย "ตงฮั่น" เป็นการรวมกลุ่มชาวนาต่อต้าน
    ทางการจีนในสมัยนั้นที่ไม่พอใจการปกครอง โดยมีผู้นำชื่อว่า "จางเจี่ยว" ปลุกระดมราษฎรหลายแสน
    คนให้แข็งข้อ โดยใช้รหัสว่า "สวรรค์ดับสูญ ฟ้าสีทองผ่องพรรณ"

    แม้การปฏิวัติในคราวนั้นจะล้มเหลว แต่ก็มีผลกระทบในวงกว้าง....ซึ่งรัชกาลที่สิบของเกาหลีคือพระเจ้า
    "ยอนซัน" มีพระเชษฐานามว่า "ชินซอง" เมื่อพระเจ้ายอนซันถูกปลด เหล่าขุนนางจึงทูลเชิญให้เจ้าชาย
    "ซินซอง" ขึ้นครองราชย์ต่อ ขนานนามว่าพระเจ้า "จุงจง" รหัสในการปฎิวัติครั้งนั้นก็คือ
    "สวรรค์ดับสูญ ฟ้าสีทองผ่องพรรณ"

    3.เครื่องเสวย

    เครื่องเสวยของพระเจ้าเกาหลีนั้น จะมีอาหาร 12 อย่าง บวกกับหม้อไฟ น้ำแกง นอกจากดูอลังการณ์แล้ว
    ยังแฝงความนัยไว้ด้วย

    คุณผู้ชมอยากทราบหรือไม่....ทุกปีราษฎรจะต้องถวายผลิตผลที่ดีที่สุดทางการเกษตร ล่าสัตว์และประมง
    มาเป็นเครื่องบรรณาการยังวังหลวง เพื่อที่ว่า พระราชาได้เห็นของเหล่านี้ จะรู้ว่าราษฎรกินดีอยู่ดีหรือไม่
    เช่นว่า ถ้าอาหารรสเลิศ แสดงว่าบ้านเมืองร่มเย็น แต่ถ้าอาหารลดปริมาณลงหรือวัตถุดิบเปลี่ยนไป
    แสดงว่าแหล่งเพาะปลูกนั้น ๆ เกิดปัญหาหรือมีภัยธรรมชาติ

    4.เครื่องแต่งกาย

    เครื่องแต่งกายของชาวเกาหลีมักเป็นชุดยาว คือ ยาวทั้งเสื้อและกางเกง หากเป็นฤดูหนาวหรือมีพิธีสำคัญ
    ก็จะมีเสื้อคลุมยาวอีกตัว

    จากภาพเขียนในสุสานของราชวงศ์ " โครยอ " เห็นได้ว่าชุดประจำชาติเหล่านี้ มีมาตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 4
    ยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เครื่องแต่งกายของชาวเกาหลีอาจมีเปลี่ยนแปลงบ้าง เช่นในราชวงศ์ "โชซอน"
    ผู้หญิงจะใส่เสื้อที่ลำตัวสั้น หากแต่ท่อนล่างยาวกรุยกราย แต่ไม่ว่าจะเปลี่ยนยังไง ก็ไม่พ้นชุดยาวที่ใส่คลุม
    ทั้งตัว เพื่อให้เข้ากับความเคยชินในการนั่งพื้นของชาวเกาหลีนั่นเอง

    ฉะนั้นไม่ว่าเป็นชุดขุนนาง ชุดลำลองหรือชุดทางการ รูปแบบจะคล้ายกันมาก

    5.ห้อง ใน วังหลวง

    นางกำนัลในวังหลวง ต่างมีภาระหน้าที่ของตัวเอง และสถานที่ทำงานก็มีชื่อเรียกที่แตกต่าง เช่น สถานที่
    หุงข้าวเรียกว่า " ห้องซูชิ " ห้องปอกผลไม้เรียกว่า " ห้องผลไม้ " ห้องตัดเย็บเสื้อผ้ามี " ห้องปัก " กับ
    " ห้องเย็บ " ส่วนที่ปรุงอาหารมีแบ่งครัวในกับครัวนอก อาหารที่ปรุงเสร็จต้องส่งไปที่ " ห้องลำเลียง "
    แล้วค่อยนำขึ้นถวายพระราชาอีกที

    คนที่เป็นนางกำนัลห้องเครื่อง หากได้ทำงานในครัวจะถือเป็นเกียรติอย่างสูง แต่ " ห้องลำเลียง " ก็มี
    ความสำคัญไม่น้อย เพราะเครื่องคาวหวานที่เสวยไม่หมด,จะถูกส่งกลับมายังห้องลำเลียง พอบรรดาซังกุง
    เห็นเข้า จะรู้ว่าโปรดหรือไม่โปรดอะไร วันหลังทำใหม่จะได้ปรับปรุงให้ดีขึ้น

    6.บทบาทของ . . . เกลือ

    สมัยอดีตเกลือมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะตอนนั้นยังไม่มีเทคโนโลยีในการผลิตเกลือ
    แต่ต้องใช้เกลือจำนวนมาก ได้แก่การปรุงอาหาร รักษาบาดแผลและปรุงยา

    แม้แต่การหมักอาหารก็ต้องใช้เกลือเพราะเกลือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต
    หลายประเทศในอดีตจึงมีการเก็บส่วยเกลือขึ้น

    ในซีรี่ย์เรื่องนี้ พี่ชายของ "แชซังกุง" เป็นพ่อค้าเกลือที่ขายให้วังหลวง
    เขาจึงอยากให้ญาติตัวเองมีอำนาจสั่งการในห้องเครื่อง
    เพื่อเป็นรากฐานให้เขาได้รับผลประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

    6.บทบาทของ . . . เกลือ

    สมัยอดีตเกลือมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะตอนนั้นยังไม่มีเทคโนโลยีในการผลิตเกลือ
    แต่ต้องใช้เกลือจำนวนมาก ได้แก่การปรุงอาหาร รักษาบาดแผลและปรุงยา

    แม้แต่การหมักอาหารก็ต้องใช้เกลือเพราะเกลือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต
    หลายประเทศในอดีตจึงมีการเก็บส่วยเกลือขึ้น

    ในซีรี่ย์เรื่องนี้ พี่ชายของ "แชซังกุง" เป็นพ่อค้าเกลือที่ขายให้วังหลวง
    เขาจึงอยากให้ญาติตัวเองมีอำนาจสั่งการในห้องเครื่อง
    เพื่อเป็นรากฐานให้เขาได้รับผลประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

    3.เครื่องเสวย

    เครื่องเสวยของพระเจ้าเกาหลีนั้น จะมีอาหาร 12 อย่าง บวกกับหม้อไฟ น้ำแกง นอกจากดูอลังการณ์แล้ว
    ยังแฝงความนัยไว้ด้วย

    คุณผู้ชมอยากทราบหรือไม่....ทุกปีราษฎรจะต้องถวายผลิตผลที่ดีที่สุดทางการเกษตร ล่าสัตว์และประมง
    มาเป็นเครื่องบรรณาการยังวังหลวง เพื่อที่ว่า พระราชาได้เห็นของเหล่านี้ จะรู้ว่าราษฎรกินดีอยู่ดีหรือไม่
    เช่นว่า ถ้าอาหารรสเลิศ แสดงว่าบ้านเมืองร่มเย็น แต่ถ้าอาหารลดปริมาณลงหรือวัตถุดิบเปลี่ยนไป
    แสดงว่าแหล่งเพาะปลูกนั้น ๆ เกิดปัญหาหรือมีภัยธรรมชาติ

    4.เครื่องแต่งกาย

    เครื่องแต่งกายของชาวเกาหลีมักเป็นชุดยาว คือ ยาวทั้งเสื้อและกางเกง หากเป็นฤดูหนาวหรือมีพิธีสำคัญ
    ก็จะมีเสื้อคลุมยาวอีกตัว

    จากภาพเขียนในสุสานของราชวงศ์ " โครยอ " เห็นได้ว่าชุดประจำชาติเหล่านี้ มีมาตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 4
    ยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เครื่องแต่งกายของชาวเกาหลีอาจมีเปลี่ยนแปลงบ้าง เช่นในราชวงศ์ "โชซอน"
    ผู้หญิงจะใส่เสื้อที่ลำตัวสั้น หากแต่ท่อนล่างยาวกรุยกราย แต่ไม่ว่าจะเปลี่ยนยังไง ก็ไม่พ้นชุดยาวที่ใส่คลุม
    ทั้งตัว เพื่อให้เข้ากับความเคยชินในการนั่งพื้นของชาวเกาหลีนั่นเอง

    ฉะนั้นไม่ว่าเป็นชุดขุนนาง ชุดลำลองหรือชุดทางการ รูปแบบจะคล้ายกันมาก

    5.ห้อง ใน วังหลวง

    นางกำนัลในวังหลวง ต่างมีภาระหน้าที่ของตัวเอง และสถานที่ทำงานก็มีชื่อเรียกที่แตกต่าง เช่น สถานที่
    หุงข้าวเรียกว่า " ห้องซูชิ " ห้องปอกผลไม้เรียกว่า " ห้องผลไม้ " ห้องตัดเย็บเสื้อผ้ามี " ห้องปัก " กับ
    " ห้องเย็บ " ส่วนที่ปรุงอาหารมีแบ่งครัวในกับครัวนอก อาหารที่ปรุงเสร็จต้องส่งไปที่ " ห้องลำเลียง "
    แล้วค่อยนำขึ้นถวายพระราชาอีกที

    คนที่เป็นนางกำนัลห้องเครื่อง หากได้ทำงานในครัวจะถือเป็นเกียรติอย่างสูง แต่ " ห้องลำเลียง " ก็มี
    ความสำคัญไม่น้อย เพราะเครื่องคาวหวานที่เสวยไม่หมด,จะถูกส่งกลับมายังห้องลำเลียง พอบรรดาซังกุง
    เห็นเข้า จะรู้ว่าโปรดหรือไม่โปรดอะไร วันหลังทำใหม่จะได้ปรับปรุงให้ดีขึ้น

    6.บทบาทของ . . . เกลือ

    สมัยอดีตเกลือมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะตอนนั้นยังไม่มีเทคโนโลยีในการผลิตเกลือ
    แต่ต้องใช้เกลือจำนวนมาก ได้แก่การปรุงอาหาร รักษาบาดแผลและปรุงยา

    แม้แต่การหมักอาหารก็ต้องใช้เกลือเพราะเกลือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต
    หลายประเทศในอดีตจึงมีการเก็บส่วยเกลือขึ้น

    ในซีรี่ย์เรื่องนี้ พี่ชายของ "แชซังกุง" เป็นพ่อค้าเกลือที่ขายให้วังหลวง
    เขาจึงอยากให้ญาติตัวเองมีอำนาจสั่งการในห้องเครื่อง
    เพื่อเป็นรากฐานให้เขาได้รับผลประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

    6.บทบาทของ . . . เกลือ

    สมัยอดีตเกลือมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะตอนนั้นยังไม่มีเทคโนโลยีในการผลิตเกลือ
    แต่ต้องใช้เกลือจำนวนมาก ได้แก่การปรุงอาหาร รักษาบาดแผลและปรุงยา

    แม้แต่การหมักอาหารก็ต้องใช้เกลือเพราะเกลือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต
    หลายประเทศในอดีตจึงมีการเก็บส่วยเกลือขึ้น

    ในซีรี่ย์เรื่องนี้ พี่ชายของ "แชซังกุง" เป็นพ่อค้าเกลือที่ขายให้วังหลวง
    เขาจึงอยากให้ญาติตัวเองมีอำนาจสั่งการในห้องเครื่อง
    เพื่อเป็นรากฐานให้เขาได้รับผลประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×