สมเด็จพระมหาจักรพรรดิวิคเตอร์มหาราช"ปฐมบรมมหาจักรพรรดิ" แห่งรัชเซีย
วันราชาภิเษก
30 มกราคม 2549
เครื่องราชอิสริยศสูงสุดแห่งชีวิต : พระประมุขสูงสุดแห่งจักรวรรดิฝรั่งเศส - รัสเซีย และเครือรัฐเอกราช
ข้อมูลส่วนพระองค์
พระปรมาภิไธย นโปเลียน เดอ วิคเตอร์
{ Napoleon De Victer }
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิวิคเตอร์มหาราช"ปฐมบรมมหาจักรพรรดิ"
{ Imperial Majesty Emperor Victer The Mangnificent }
พระนามาภิไธย วิคเตอร์ ซี.โรมานอฟ
{ Victer C. Romanov }
ประสูติ 30 มกราคม 1990
เถลิงราชสมบัติ 30 มกราคม 2007
สละราชสมบัติ 17 สิงหาคม 2011
สมเด็จพระราชบิดา สมเด็จกรมหลวงทวีทรัพย์มหาราช
สมเด็จพระราชมารดา สมเด็จพระนางเจ้าทองจำปา พระพันปีหลวง
พระเชญภิคิณี-พระอนุชา-พระขณิษฐา
-สมเด็จพระนางเจ้าอิซาเบลลาที่ 1
-สมเด็จพระราชาธิบดีฟรองซัวที่ 1 แห่งฮังการี่
-สมเด็จพระนางเจ้าเดลฟีน โรมานอฟ
พระราชโอรสและพระราชธิดา
ประสูติแด่สมเด็จพระนางเจ้าณัษฐภา พระมหาจักรพรรดินีนาถ
- สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสลิลาพร
- สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าปรีดียาธร
- สมเด็จพระจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 4 แกรนดยุกแห่งนอฟโกรอด
- สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสุพรรณกรรณิการ์
- สมเด็จพระเจ้าลูกยา เจ้าฟ้าชายเฮ็กเตอร์ ดมิทรี
ประสูติแด่สมเด็จพระนางเจ้าฟลัวน่า บรันเดนบรูกส์
- สมเด็จพระนางเจ้าบลูโรส บรันเดนบรูกส์
- สมเด็จพระนางเจ้านัวร์ บรันเดนบรูกส์
ประสูติแด่สมเด็จพระมหาจักรพรรดินีนาถดอลลา เดอลาเทียร์
-สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าเดวิล แฟนทอม เดอลาเทียร์
-สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจอร์เจียน่า อเล็กเซ เดอลาเทียร์
สมเด็จพระมหาจักรพรรดินโปเลียน เดอ วิคเตอร์"มหาราช" พระนามเดิมก่อนขึ้นครองราชสมบัติ
จอมพลเรือวิคเตอร์ คอนสแตนติน ไชยธวัช โรมานอฟ เป็นพระประมุขสูงสุดแห่งจักรวรรดิฝรั่งเศส - รัสเซีย
ที่ทรงมีอุปนิสัยคล้ายกับจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
ประสูติ
จักรพรรดิวิคเตอร์ประสูติที่โรงพยาบาลทหารเรือโรสแมรี่ กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในวันที่ 30 มกราคม 1990
ตอนทรงประสูตินั้นทหารเรือเขตทะเลบอสติกได้ทำปืนใหญ่ลั่นถึง 500 นัดอย่างพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย เสมือนเป็นสัญญานการต้อนรับขององค์จักรพรรดิ
การศึกษา
ในวัยเยาว์ทรงได้รับการศึกษาจากโรงเรียนอนุบาลจุฬาทิพย์
จากนั้นทรงถูกย้ายไปศึกษาที่โรงเรียนบ้านป่าสักไก่
ก่อนย้ายกลับมาสู่โรงเรียนประชานุกูล(ขำสนิทอนุเคราะ)
และได้ทรงย้ายไปโรงเรียนวรพิทยา อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
ในช่วงมัธยมศึกษาทรงศึกษาที่โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย 2
การศึกษาในระยะนี้ทรงถูกกดขี่จากบรรดาครูอาจารย์หลายคน แต่ก็พยายามรอดพ้นมาได้
แต่ก็ทรงได้เกรดค่อนข้างต่ำเนื่องจากทรงแข็งข้อกับบรรดาอาจารย์ที่กระทำตัวไม่สมควรเป็นอาจารย์
จึงเกือบจะไม่จบการศึกษาภาคบังคับ
ในช่วงหลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้นได้ทำงานเกี่ยวกับด้านลูกเสือของประเทศไทย จนได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นจตุถาภรณ์มงกุฏไทย และลูกเสือสรรเสริญ แต่ก็ต้องมีอันได้ยกเลิกทำเพื่อเข้าศึกษาต่อ
ในช่วงการศึกษาอาชีวศึกษาได้ทรงศึกษาสาขางานคอมพิวเตอร์บริหารธุรกิจและพานิชยการใน
วิทยาลัยสยามบริหารธุรกิจ จากนั้นได้ลาออกมาศึกษาในสาขาวิชางานเครื่องกล
แผนกยานยนต์ในวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ
รับราชการทหาร
ในปี 2548 ได้ทรงรับราชการทหารในกรมทหารเรือยุทธนาวาสมาพันธรัฐรัสเซียในยศเรือตรี
จากนั้นได้บังคับการเรือรบแทนนาวาโทดมิทรี นิโคลัย
ในการสู้รบกับสหราชอาณาจักรอังกฤษ จึงได้เลื่อนยศเป็นนาวาโท
และได้รับชัยชนะในการยึดพื้นที่โปแลนด์,ฟินแลนด์ และเขตการปกครองอื่นๆจนได้รับสมญานามว่า
"มังกรแห่งทะเลดำ" และได้รับการเลื่อนขั้นขึ้นเป็นพลเรือตรี
จากการถล่มกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่ชายฝั่งนอร์เวย์จึงได้รับตำแหน่งพลเรือเอก
ในงานเสนาธิการทหารเรือ และผู้บังคับการกองเรือทะเลดำ
เดินสู่การเมือง
พลเรือเอกวิคเตอร์ ได้เดินทางสู่การเมืองในตำแหน่งประธานสภากลาโหมแห่งสมาพันธรัฐ
และประธานสภาคอมมิวนิสต์แห่งชาติ และจากการรบชนะกองทัพบริทาเนียในเอเชียไมนอร์
จึงได้รับการเลื่อนยศเป็นจอมพลเรือ
ในตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ และได้นำทหารเรือปฏิวัติล้มรัฐบาลสมาพันธรัฐ
และขึ้นเป็นเป็นผู้นำเผด็จการทหาร แต่ได้ใจประชาชนที่แบ่งที่ทำกินให้ประชาชน
และการรบชนะกองทัพสัมพันธมิตรที่โปแลนด์และปรัสเซียตะวันออก
และคาบสมุทรไอบิเรียนก้าวสู่ตำแหน่งสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ในปี 2549 เดือนมกราคม สภาดิไฮเนสในขณะนั้น จอมพลกรูชี่ ดูอังมือ
เป็นประธานสภาได้เสนอที่ประชุมให้เป็นประมุขของประเทศในฐานะจักรพรรดิ
ท่ามกลางการสนับสนุนของประชาชนทั่วทุกหัวระแหงในแผ่นดิน
สภาดิไฮเนสจึงได้มีมติให้จอมพลเรือวิคเตอร์ คอนสแตนติน ไชยธวัช โรมานอฟ
เป็นสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซีย
เปิดม่านสู่สงคราม
ตั้งแต่สมเด็จพระจักรพรรดิวิคเตอร์มหาราชได้ขึ้นครองราชสมบัติ
รัสเซียต้องทำสงครามในทุกด้านและรบครั้งไม่ถ้วน
ตั้งแต่การรุกรานของบริทาเนียที่ทะเลดำ ยุทธการวอร์ซอต้านทัพบริทคิง
ประกาศเอกราชให้อังวะเป็นอิสระจากเพาโลเนีย สมรภูมิปราสาทกรุงโวลโตรกราดเพื่อต้านทัพดาร์กแลนด์
การยกพลขึ้นบกที่ญี่ปุ่นเพื่อถ่วงอิทธิพลบริทคิง ยุทธการคราครอฟรวมยุโรปเป็นหนึ่ง
และสงครามคาบสมุทรไอบิเรียน โดยแต่ละสมรภูมิรบจะทรงบัญชาการทัพเอง
โดยมีขุนพลแห่งจักรวรรดิที่คู่พระราชหฤทัยคอยรับพระบัญชาและพระประสงค์ในการสงคราม
โดยมีผู้บัญชาการที่ทรงแต่งตั้งหลังจากครองราชสมบัติ ดังนี้
กองทหารม้า
- จอมพลมาร์มอง ไอ.วิลาดินอฟ ผู้บัญชาการทหารม้าคอสแซกและทหารม้าหอกอูราล(ถือหอกเยอรมัน)
- จอมพลกรูเช่ มังอือเซ่ ผู้บัญชาการทหารม้าฮุซาร์และทหารม้าดรากูล
กองทหารราบ
- จอมพลดมิทรี วิลาดินอฟ ผู้บัญชาการกองพลที่ 10 รักษาการณ์แห่งจักรวรรดิ
กองทหารปืนใหญ่
- พลโทโอเปร่า บี.ปิลาดิโด ผู้บัญชาการกองทหารปืนใหญ่
กองทหารรักษาพระองค์
- จอมพลเปรโตรนาส บี.ปิลาดิโด
- จอมพลเมอร์ซีแยร์ เดอ โกรแรนกรู
กองทหารเรือ
- จอมพลออร์ตอง ออร์ริรังต์
หายนะแห่งชีวิต
การประทะกันระหว่างจักรวรรดิรัสเซีย บริทคิง บริทาเนีย
ในเขตเอเชียกลางอย่างรุนแรงส่งผลให้พระเนตรขวาพระองค์บอด
ถึงแม้ว่าบริทคิงจะพยายามใช้เทคโนโลยีในการรบแต่ก็ไม่อาจสู่กองพลกระดูกเหล็กของจักรวรรดิรัสเซียได้
แต่ก็ส่งผลให้ทหารประจำการลดลงอย่างมาก
ในวันที่ 1 ธันวาคม ปี 2009 พระองค์ได้หย่าขาดกับสมเด็จพระนางเจ้าจารุวรรณ พระมหาจักรพรรดินีนาถ
ทำให้ทรงตรอมพระราชหฤทัยอย่างรุนแรงจนประชวร จากนั้นก็ทรงมิได้อภิเสกใครอยู่ได้นาน
แม้กระทั่งสมเด็จพระนางเจ้าฟลัวน่า บรันเดนบรูกส์ ที่ให้กำเนิดพระราชธิดาสองพระองค์นั้นก็ยังทรงหย่าร้าง
ทำให้พระองค์ทุกข์ทนกับพระหทัยที่ไม่แข็งแรงดั่งที่พระองค์ปราถนา
และเมื่อสมเด็จพระมหาจักรพรรดินีนาถดอลลาหายไปพร้อมเครื่องบินพระที่นั่ง
ทำให้พระองค์ตัดสินใจสละราชบัลลังค์จักรวรรดิฝรั่งเศส - รัสเซีย และทรงเสด็จขึ้นเรือรบหลวงแพนดอร่า
เพื่อตามหาจักรพรรดินีนาถผู้หายไปกลางมหาสมุทรแอตแลนติก
หลังจากนั้นหนึ่งเดือน สมเด็จพระมหาจักรพรรดิวิคเตอร์มหาราชทรงลงพระนามสละราชสมบัติ
พร้อมกับที่สุสานภายในพระราชวังฤดูหนาวกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างเสร็จ พระองค์อภิเสกกับเลดี้คาร่า
แต่ก็อยู่ใด้มินานก็ทรงหย่าร้าง หลังจากนั้น ในฐานะจอมทัพแห่งจักรวรรดิฝรั่งเศส - รัสเซีย
จอมพลเรือวิคเตอร์ก่อสร้างปราการ"ฟอร์นอร์ธ"แห่งน๊อกแลนด์ และป้อมปราการ"บารัดดูร์"แห่งกอร์โกรอธ
ระหว่างนั้นภายใต้การปกครองของสมเด็จพระนางเจ้าณัษฐภา พระมหาจักรพรรดินีนาถ"ผู้สุนทรีย์"
กองทัพจักรวรรดิฝรั่งเศส - รัสเซีย ถูกกองทัพแคสซาเดียของคา่ร่าท้าทายด้วยการลอกระบบและฐานันดรศักดิ์
ทำให้ประมุขสูงสุดพิโรธถึงกับสั่งการให้จอมทัพวิคเตอร์เตรียมกองทัพทั้งหมดที่มีในการรบ
ความคิดเห็น