คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #2 : คลังข้อสอบ ชุด 1
คลังข้อสอบ
วิชา การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต
ชุดที่ 1
คำชี้แจง
- ข้อสอบปรนัย 100 ข้อ
- ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย X หน้าข้อที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ลงในการดาษคำตอบ
- ส่งกระดาษคำตอบพร้อมต้นฉบับข้อสอบ ห้ามนักเรียนนำข้อสอบออกนอกห้องสอบ
1. ในแผนภูมกระบวนการผลิต คำว่า Input หมายถึง
ก. วัตถุดิบ ข. กระบวนการ
ค. ผลผลิต ง. คนทำงาน
2. ในแผนภูมกระบวนการผลิต คำว่า Process หมายถึง
ก. วัตถุดิบ ข. กระบวนการ
ค. ผลผลิต ง. คนทำงาน
3. คำว่า QC ย่อมาจากคำว่าอะไร
ก. Quality Central ข. Quick Central
ค. Quality Control ง. Quick Control
4. “องค์การตลาดการค้าเสรี “ ใช้ตำย่อภาษาอังกฤษว่าอะไร
ก. WBC ข. WTO
ค. MBA ง. WOT
5. ท่านคิดว่าราคาค่าถ่ายเอกสารโดยใช้กระดาษ A4 ราคาแผ่นละ 50 สตางค์ ใครเป็นผู้กำหนด
ก. ผู้ผลิต ข. ผู้แทนจำหน่าย
ง. ลูกค้า ง. ระบบการแข่งขันในตลาด
6. คุณภาพมีความสัมพันธ์กับต้นทุนอย่างไร
ก. ต้นทุนมากทำให้ได้สินค้าคุณภาพดีมาก ข. ต้นทุนต่ำ ยากจะทำให้เกิดคุณภาพได้
ค. ต้นทุรปานกลาง คุณภาพปานกลาง นับว่าเหมาะสม ง. คุณภาพสูง โดยใช้ต้นทุนต่ำ ทำให้สินค้าราคาถูก ลูกค้าพอใจ
7. เป้าหมายของการควบคุมคุณภาพ คือข้อใด
ก. ลดต้นทุนด้านวัตถุดิบ และเวลาที่ใช้ในการผลิด ข. ลดต้นทุน คือ ลดค่าแรง
ค. ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ง. ลดการใช้เครื่องจักรราคาแพง
8. การวางแผนงานควบให้ครบกี่ขั้นตอน
ก. 4 ขั้นตอน ข. 5 ขั้นตอน
ค. 6 ขั้นตอน ง. 7 ขั้นตอน
9. การวางแผนศึกษาข้อมูล วิธีการ ความต้องการของตลาดด้านวัตถุดิบ ด้านทรัพยากรณ์ที่มีอยู่ หรือเงินทุน คือขั้นตอนใดในการวางแผน
ก. ขั้นศึกษา ข. ขั้นเตรียมงาน
ค. ขั้นดำเนินงาน ง. ขั้นการประเมิน
10. PDCA ย่อมาจากอะไร
ก. Plan Do Clean Automatic ข. Play Do Check Action
ค. Plan Do Check Action ง. Play Do Clean Automatic
11. ประเภทของแผนงานแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
ก. การวางแผนงานตามระยะเวลา , การวางแผนงานตามบุคคล , การวางแผนตามลักษณะการใช้งาน
ข. การวางแผนตามระยะเวลา , การวางแผนตามกำลังคน , การวางแผนเฉพาะงาน
ค. การวางแผนกลยุทธ์ , การวางแผนยุทธวิธี , การวางแผนปฏิบัติงาน
ง. การวางแผนงานตามระยะเวลา , การวางแผนงานตามความรับผิดชอบ , การแบ่งแผนงานตามลักษณะการใช้งาน
12. การปฏิบัติงานตามแผนคุณภาพให้ได้ผลดี ต้องมีผู้บริการแบบใด
ก. ผู้บริการที่มีอำนาจเฉพาะหน่วยงานของตนเอง ข. ผู้บริการระดับสูงสุดเป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติงานตามแผนงาน
ค. มีคณะกรรมการบริหารแผนงานโดยเฉพาะ ง. จัดผู้บริหารแยกไปตามประเภทของแผนงานแต่ละประเภท
13. Delta Principle เป็นเกณฑ์ที่ประเมินอะไร
ก. คุณภาพ การให้บริการและผลกำไร ข. คุณภาพ การส่งมอบ และการลดต้นทุน
ค. การเพิ่มคุณภาพ การลดต้นทุน และการเพิ่มกำไร ง. การทำงาน การบริหารงาน และการประเมินผล
14. แผนงานใด เป็นแผนงานที่ทุกหน่วยงานใช้เป็นแผนแม่บท
ก. แผนงานประจำปี ข. แผนงานหลัก
ค. แผนปฏิบัติการ ง. แผนกลยุทธ์
15. 5ส. มาจากภาษาญี่ปุ่น 5 คำ คือ
ก. Sencha , Seiton , Seiso , Seiketsu , Shitsuke ข. Seiri , Seiton , Seiso , Seiketsu , Shitsuke
ค. Seiri , Seiton , Seiso , Sencha , Shitsuke ง. ค. Seiri , Seiton , Seiso , Shitsuke , Sencha
16. QCC ย่อมาจากคำว่าอะไร
ก. Quick Control Cycle ข. Quick Central Cycle
ค. Quality Control Cycle ง. Quality Central Cycle
17. การบำรุงรักษาอย่างมีส่วนร่วม (TPM) ใช้คำภาษาอังกฤษว่าอะไร
ก. Total Production Maintenace ข. Total Process Maintenace
ค. Tack Production Maintenace ง. Tack Process Maintenace
18. กิจกรรม QCC พัฒนามาจากอะไร
ก. SQC เป็น TQC เป็น QCC ข. TQC เป็น QCC เป็น SQC
ค. SQC เป็น QCC เป็น TQC ข. TQC เป็น SQC เป็น QCC
19. การใช้แผนภูมิก้างปลาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ คืออะไร
ก. มองเห็นปัญหาได้อย่างชัดเจนและเป็นระบบ ข. คนส่วนใหญ่ชอบกินปลาและปลามีก้างมาก
ค. ทำให้การแสดงปัญหาน่าสนใจมากขึ้น ง. เพราะปลามีมากในเมืองไทย
20. ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของการบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม
ก. ความคงทนถาวร ข. มีความพร้อมใช้งาน
ค. ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม ง. ลดเวลาการทำงานของพนักงานซ่อมบำรุง
21. การสูญเสียวัตถุดิบ มักเกิดขึ้นในขั้นตอนใดของกระบวนการผลิต
ก. การเปิดเครื่องป้อนเข้าวัตถุดิบครั้งแรก ข. วิธีการป้อนวัตถุดิบ
ค. ในกระบวนการผลิต ง. ในกระบวนการจัดซื้อ
22. โครงสร้างของรายงานผลการดำเนินงาน ประกอบด้วยกี่ส่วน
ก. 7 ส่วน ข. 8 ส่วน
ค. 9 ส่วน ง. 10 ส่วน
23. โครงสร้างของรายงานผลการดำเนินงาน ในส่วนของสาระของรายงาน ประกอบด้วยกี่อย่าง
ก. 5 อย่าง ข. 6 อย่าง
ค. 7 อย่าง ง. 8 อย่าง
24. รายงานเป็นองค์ประกอบของระบบเอกสารตามมาตรฐานใด
ก. WTO 9001 : 2000 ข. ISO 9001 : 2000
ค. WTO 9001 : 2005 ง. ISO 9001 : 2005
25. รายงานผลการตรวจสอบผลการดำเนินงาน เรื่องในรายงานประกอบด้วยกี่ส่วน
ก. 2 ส่วน ข. 3 ส่วน
ค. 4 ส่วน ง. 5 ส่วน
26. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ของการเขียนรายงานผลการดำเนินงาน
ก. รายงานผลงานของตัวเอง
ข. รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บังคับบัญชา
ค. ให้ผู้บังคับบัญชาทราบผลการดำเนินงานเพื่อการสนับสนุนในโอกาสต่อไป
ง. รายงานตามหน้าที่ ตามระเบียบ
27. ข้อใดไม่ใช่วิธีการนำเสนอข้อมูล
ก. บรรยายความคิดเห็นส่วนตัว ข. ตารางแจกแจงความถี่
ค. ตารางวิเคราะห์ข้อมูล ง. กราฟพาเลโด หรือฮีทโตแกรม
28. ข้อใดเป็นส่วนสำคัญที่สุดของรายงานผลการดำเนินงาน
ก. ปก ข. บทนำ
ค. สาระเนื้อหา ง. บทสรุป
29. ข้อใดไม่ใช่สาระของรายงานผลการดำเนินงาน
ก. ภาพจำลอง ข. สภาพการทำงาน
ค. ตารางกำหนดการทำงาน ง. รายชื่อพนักงาน
30. หลักการพื้นฐานของการบริหารงานคุณภาพในองค์การ ประกอบด้วยกี่ส่วน
ก. 5 ส่วน ข. 6 ส่วน
ค. 7 ส่วน ง. 8 ส่วน
31. ระบบบริหารงานจะเกิดประสิทธิภาพและสร้างคุณภาพ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบกี่ส่วน
ก. 4 องค์ประกอบ ข. 5 องค์ประกอบ
ค. 6 องค์ประกอบ ง. 7 องค์ประกอบ
32. การศึกษาและวิจัยตลาด เป็นการศึกษาแบบกี่มิติ
ก. 1 มิติ ข. 2 มิติ
ค. 3 มิติ ง. 4 มิติ
33. จากข้อ 32 มีอะไรบ้าง
ก. ความต้องการของลูกค้า ข. ความต้องการของลูกค้า , คู่แข่งในตลาด
ค. คู่แข่งในตลาด ง. คู่แข่งในตลาด , ความต้องการผลิดขงอผู้ผลิต
34. ข้อใดเป็นขอบข่ายการบริหารงานคุณภาพในองค์กร
ก. คุณภาพ ต้นทุน ข. คุณภาพ ต้นทุน การส่งมอบ
ค. ลูกค้า พนักงาน สังคม ง. ถูกต้องทุกข้อ
35. การปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง เกิดขากข้อใดมากที่สุด
ก. นโยบายขององค์กร ข. ความต้องการของลูกค้า
ค. ความต้องการของพนักงาน ง. ความต้องการของฝ่ายประเมินผล
36. ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับผู้ส่งมอบควรอยู่บนพื้นฐานของข้อใด
ก. การพึ่งอาศัยกัน ข. การรักใคร่ปองดองกัน
ค. ผลประโยชน์ร่วมกัน ง. การแข่งขันเพื่อชัยชนะ
37. ท่านคิดว่าการบริหารงานคุณภาพในองค์กร มีเป้าหมายสำคัญที่สุด คือข้อใด
ก. ผลกำไร ข. ลูกค้า
ค. พนักงาน ง. หุ้นส่วน
38. ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต/การบริการ แบ่งได้กี่ประเภท
ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท
39. พนักงานทำงานในหนึ่งวันกี่ชั่วโมง
ก. 7 ชั่วโมง ข. 8 ชั่วโมง
ค. 9 ชั่วโมง ง. 10 ชั่วโมง
40. การประเมินผลการจัดสภาพแวดล้อมของการทำงาน ทำได้ 3 แนวทาง ยกเว้นข้อใด
ก. ประเมินจากประสิทธิภาพการทำงานและผลงาน
ข. ประเมินจากการบันทึกข้อมูลอย่างละเอียดด้วยระเบียบวิธีการศึกษาวิธีการทำงาน
ค. ประเมินจากข้อเสนอแนะปรับปรุงงาน
ง. ประเมินจากตนเอง
41. ข้อใดไม่ใช่สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ก. ระบบแสงสว่าง ข. ระบบความปลอดภัย
ค. ระบบอาชีวอนามัย ง. ระบบลูกค้าสัมพันธ์
42. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัย
ก. สุขภาพอนามัยของพนักงาน ข. สิ่งแวดล้อมภายในโรงงาน
ค. สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ โรงงาน ง. เพื่อนร่วมงาน
43. ข้อใดทำให้พนักงานมีความรู้สึกมั่นคง
ก. มีเงินเดือนมาก ๆ ข. มีโบนัสมาก ๆ
ค. มีนายใจดี ง. ระบบบริหารงานในองค์กรมีคุณภาพ
44. ทัศนคติข้อใดของพนักงานที่มีประโยชน์ต่อองค์กรมากที่สุด
ก. ชื่นชมองค์กร ข. เป็นเจ้าขององค์กร
ค. องค์กรดีเด่น ง. สวัสดิการดีเด่น
45. ปัญหาการจัดสภาพแวดล้อมของการทำงานมีกี่ระดับ
ก. 1 ระดับ ข. 2 ระดับ
ค. 3 ระดับ ง. มีไม่แน่นอน
46. กระบวนการดำเนินงานให้เกิดผลิตภัณฑ์และงานบริการ แบ่งออกเป็นกี่ระดับ
ก. 1 ระดับ ข. 2 ระดับ
ค. 3. ระดับ ง. 4 ระดับ
47. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนของการผลิต/การให้บริการ
ก. ข้อมูลที่ใช้ประกอบการวางแผน ข. ข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์/งานบริการ
ค. สำรวจพนักงานฝ่ายผลิต ง. ทำการทดสอบแผนการผลิต/การให้บริการ
48. การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้บรรลุเป้าหมาย คุณภาพขึ้นอยู่กับองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน ยกเว้นข้อใด
ก. ระบบบริหารงานสิ่งแวดล้อม ข. นักออกแบบ/พัฒนาผลิตภัณฑ์
ค. ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง ง. การประสานงานระหว่างหน่วยงาน
49. Material คืออะไร
ก. ผลผลิต ข. วัตถุดิบ
ค. กระบวนการ ง. พนักงาน
50. ข้อใดไม่ใช่ผู้ส่งมอบวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ์
ก. ผู้แทนจำหน่าย ข. ผู้ผลิต
ง. ผู้รับจ้าง/ผู้รับเหมา/ผู้รับเหมาช่วง ง. ผู้จ้าง
51. กระบวนการตรวจสอบหลังการส่งมอบ มีเป้าหมายสำคัญกี่ประการ
ก. 1 ประการ ข. 2 ประการ
ค. 3 ประการ ง. 4 ประการ
52. การทำ QC เป็นการตรวจสอบผลิตภัณฑ์แบบใด
ก. แบบสุ่มตรวจ ข. แบบตรวจทุกชิ้น
ง. ตรวจแบบมั่ว ๆ ง. ตรวจแบบผ่าน ๆ
53. การทำ QA เป็นการทำอะไรเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
ก. การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ข. การซ่อมแซมผลิตภัณฑ์
ค. การทดสอบผลิตภัณฑ์ ง. การประกอบผลิตภัณฑ์
54. ในการกำหนดคุณภาพผลิตภัณฑ์หรืองานบริการต้องกำหนดโดยยึดข้อใดเป็นสำคัญ
ก. ข้อมูลของฝ่ายวิจัยตลาด ข. ข้อมูลด้านผลิตภัณฑ์
ค. ข้อมูลของลูกค้า ง. ข้อมูลทั่วไป
55. ฝ่ายวิจัยตลาดต้องหาข้อมูลอะไรมาให้ฝ่ายออกแบบ
ก. กลุ่มเป้าหมาย ข. จุดตัดสินใจของลูกค้า
ค. ผลิตภัณฑ์ของคู่แข่ง ง. ถูกทุกข้อ
57. ข้อใดที่ไม่ใช่กระบวนการจัดซื้อวัตถุดิบ
ก. การสอบราคา ข. การเปิดประมูล
ค. การเสนอราคา ง.การตีราคม
58. ข้อใดเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดของกระบวนการจัดซื้อวัตถุดิบ
ก. การประเมินความเสี่ยง ข. การตรวจสอบคุณภาพ
ค. การคำนวณงบประมาณ ง. การคำนวณระยะทางสี่งซื้อ
59. ข้อใดเป็นวิธีการเลือกสรรผู้ส่งมอบดีที่สุด
ก. ขอเยี่ยมโรงงาน ข. ขอดูมาตรฐานที่เคยคับ
ค. ขอดูเอกสารรับรองคุณภาพการผลิต ง.ดูจากการประกอบและหลักฐานทางธุระกิจ
60. ลักษณะของข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ คือข้อใด
ก. ข้อมูลตัวเลข ข. ข้อมูลทั่วไป
ค. ข้อความการติชม ง. ข้อมูลเชิงเปลี่ยเที่ยบด้วยหลักการทางสถิติ
61. ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายสำคัญของการตรวจสอบผลการดำเนินงานภายในองค์กร
ก. การบรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ และเป้าหมายตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ข. การตรวจสอบประวัติพนักงานเพื่อให้ได้พนักงานที่มีคุณภาพ
ค. ค้นหาข้อผิดพลาดของแต่ละกระบวนการที่จะกลายเป็นจุดอ่อนขององค์กร
ง. หาทางแก้ไขจุดอ่อนและเสริมจุดแข็งให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
62. Quality Assurance : QA หมายถึง
ก. การประกันคุณภาพ ข. การรับรองคุณภาพ
ค. การตรวจสอบคุณภาพ ง. การรายงานผลประจำปี
63. การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงาน เป็นขั้นตอนที่จะนำไปสู่การปรับปรุงคุณภาพทั้งองค์กร มีกี่ขั้นตอน
ก. 5 ขั้นตอน ข. 6 ขั้นตอน
ค. 7 ขั้นตอน ง. 8 ขั้นตอน
64. ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของการตรวจสอบผลการดำเนินงานในองค์กร
ก. กำจัดจุดอ่อนเสริมจุดแข็ง ข. มุ่งสู่เป้าหมายคุณภาพขององค์กร
ค. มุ่งสู่มาตรฐานนานาชาติ ง. ตอบสนองความต้องการลูกค้า
65. พื้นที่ใดที่ควรตรวจติดตามให้บ่อยที่สุด
ก. หน่วยบริการลูกค้า ข. คลังสินค้า
ค. ฝ่ายการเงิน ง. ทุกจุด
66. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการตรวจสอบติดตามภายในองค์กร
ก. เตรียมเอกสารที่ใช้ในการตรวจสอบ ข. แจ้งโปรแกรมการตรวจสอบให้หน่วยงานรู้ล่วงหน้า
ค. สังเกตการณ์ลับ ๆ ก่อนเข้าทำการตรวจจริง ง. บันทึกผลการตรวจและทำรายงาน
67. เราสามารถวางแผนป้องกันระบบบริหารงานให้คงคุณภาพได้อย่างไร
ก. ประเมินผลงานสม่ำเสมอ ข. สร้างระบบเตือนภัย คือประเมินความพึงพอใจลูกค้า
ค. ทบทวนผลการปรับปรุงงานของหน่วยงานต่าง ๆ ง. เขียนแผนงานป้องกันไว้ล่วงหน้า
68. การปรับปรุงคุณภาพทั้งองค์กรต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อใดที่ไม่ใช่ข้อมูลที่ต้องการ
ก. ผลการตรวจสอบภายนอกองค์กร ข. ผลการตรวจสอบผลงานภายในองค์กร
ค. ผลการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ง. ความพึงพอใจของลูกค้า
69. QMS ย่อมาจากคำว่าอะไร
ก. Quick Management Systems ง. Quick Management Six
ค. Quality Management Systems ง. Quality Management Six
70. ปรัชญาพื้นฐานของระบบบริหารงานคุณภาพ มีหลักกี่ประการ
ก. 6 ประการ ค. 7 ประการ
ค. 8 ประการ ง. 9 ประการ
71. กระบวนการของระบบบริหารงานคุณภาพ ประกอบด้วยกี่ข้อ
ก. 3 ข้อ ข. 4 ข้อ
ค. 5 ข้อ ง. 6 ข้อ
72. ข้อใดไม่ใช่ความรับผิดชอบของผู้บริหารในระบบบริหารงานคุณภาพ
ก. ใช้หลักการบริหารงานคุณภาพในองค์กร 8 ประการ ข. ใช้ระบบบริหารงานคุณภาพ
ค. การบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กร ง. การบริหารงานแบบทั่วไป
73. ข้อใดเป็นมาตรฐานการตรวจประเมินระบบบริหารงานคุณภาพและระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ก. ISO 9004 : 2000 ข. ISO 9004-1 : 1994
ค. ISO 19011 : 2000 ง. ISO 9000 ซ 2000
74. การกำหนดปัจจัยที่ป้อนเข้าสู่กระบวนการดำเนินงาน เป็นการปฏิบัติตามหลักการข้อใด
ก. หลักการดำเนินงานอย่างเป็นกระบวนการ ข. หลักการบริหารงานอย่างเป็นระบบ
ค. หลักการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง ง. หลักการใช้ข้อเท็จจริงเป็นพื้นฐานในการตัดสินใจ
75. การจัดระบบบริหารงานคุณภาพต้องการตอบสนองข้อใด
ก. องค์กร ข. ลูกค้า
ค. บุคลากร ง. ทุกคน
76. ข้อใดคือ ISO 9004
ก. การปรับปรุงองค์กรอย่างต่อเนื่อง ข. การสร้างมาตรฐานระดับนานาชาติ
ค. ขอบเขตวัตถุประสงค์ของระบบบริหารงานคุณภาพ ง. เน้นประสิทธิภาพการบริหารงานขององค์กร
77. ISO 9000 คือ หลักการพื้นฐานและคำศัพท์ ได้ยุบรวมมาตรฐาน 2 ฉบับ คือ
ก. ISO 9001 กับ ISO 9001-1 ข. ISO 9004 กับ ISO 9001-1
ค. ISO 8402 กับ ISO 9001-1 ง. ISO 9001 กับ ISO 8402
78. การรับรองคุณภาพมาตรฐานโรงพยาบาล คือข้อใด
ก. HH ข. HA
ค. HS ง. HO
79. การประกันคุณภาพการศึกษา คือข้อใด
ก. EQQ ข. EQA
ค. EEQ ง. QEA
80. ข้อใดคือมาตรฐานการตรวจประเมิน
ก. ISO 9000 : 2000 ข. ISO 9001 : 2000
ค. ISO 9004 : 2000 ง. ISO 9011 : 2000
81. ข้อใดที่ไม่ใช่ความมุ่งมั่นของผู้บริหารในระบบบริหารงานคุณภาพ
ก. สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ข. สร้างความพึงพอใจให้กับพนักงาน
ค. ดำเนินการทบทวนผลการดำเนินงาน ง. การจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นอย่างพอเพียง
82. ข้อกำหนดใดที่ไม่ใช่ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์
ก. ข้อกำหนดที่ลูกค้าระบุ ข. ข้อกำหนดทางกฎหมาย
ค. ข้อกำหนดขององค์กรเอง ง. ข้อบังคับที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์นั้น ๆ
83. ในการทบทวนการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้องประกอบด้วยข้อใด
ก. ตัวแทนจากฝ่ายออกแบบและผู้บริหาร ข. ตัวแทนจากฝ่ายผลิตและผู้บริหารระดับสูง
ค. ตัวแทนจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ง. ฝ่ายออกแบบทบทวนกันเอง
84. ในการวางแผนการผลิต ความสำคัญอันดับแรกคือ
ก. ข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของลูกค้า ข. การกำหนดปัจจัยการผลิต กระบวนการและเอกสาร
ค. วัตถุประสงค์ขององค์กร ง. การทบทวนแผนการดำเนินงานและเกณฑ์การยอมรับ
85. ความไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดของระบบบริหารงานคุณภาพมีกี่ระดับ
ก. 2 ระดับ ข. 3 ระดับ
ค. 4 ระดับ ง. 5 ระดับ
86. เอกสารเพื่อการตรวจสอบผลการดำเนินงานภายในองค์กร ประกอบด้วยกี่ชนิด
ก. 9 ชนิด ข. 10 ชนิด
ค. 11 ชนิด ง. 12 ชนิด
87. ต้นทุน (Cost)คือ
ก. เงินทุนที่ใช้จัดหาปัจจัยการผลิต ข. ระดับคุณภาพหรือมาตรฐานของผลิตภัณฑ์
ค. จุดหมายปลายทางของผลิตภัณฑ์หรือบริการ ง. คุณค่าที่ลูกค้าหรือผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจ
88. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ที่องค์กรได้รับจากการเพิ่มผลผลิตในองค์กร
ก. ผลกำไร ข. ความมั่นคง
ค. ได้รับภาษีอากรเพิ่ม ง. ความเชื่อมั่นของลูกค้า
89. ข้อใดคือประโยชน์ที่ประเทศได้รับจากการเพิ่มผลผลิตในองค์กร
ก. ผลกำไร ข. การยอมรับจากชุมชนและสังคม
ค. มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ง. ความเชื่อมั่นขิงลูกค้า
90. ข้อใดเป็นแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์
ก. ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง ลูกค้าพอใจ แข่งขันได้ ข. คุณภาพสูง ลูกค้าพอใจ ได้รางวัลงาม
ค. ลูกค้าพอใจ หุ้นส่วนพอใจ ง. ต้องแข่งขันนานาประเทศ
91. ข้อใดเป็นแนวคิดทางสังคม
ก. ทำให้คนดี มีประโยชน์ ข. ใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ค. ใช้ป่าไม้ให้ประหยัด ง. ใช้พลังงานให้ประหยัด
92. การทำ QC ในกระบวนการผลิต เป็นการเพิ่มคุณค่าด้วยปัจจัยด้านใด
ก. บุคลากร ข. เทคโนโลยี
ค. การบริหาร ง. วัตถุดิบ
93. ข้อใดก่อให้เกิดความล่าช้าในการทำงานมากที่สุด
ก. พนักงานไม่พอ ข. พนักงานไม่ชำนาญงาน
ค. พนักงานทำผิดขั้นตอน ง. ไม่มีข้อใดมากที่สุด ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
94. ผู้รับเหมาก่อสร้างทิ้งงานทำไม่สำเร็จ ท่านคิดว่าผู้รับเหมาคนนี้ทำงานอย่างไร
ก. ขาดการวางแผนอย่างรอบคอบ โดยมีข้อมูลชัดเจน ข. ทำงานไม่เป็น ไม่รู้วิธีบริหารงาน
ค. ทำงานร่วมกับลูกน้องไม่ได้ ง. ไม่มีเงินทุนซื้อวัสดุก่อสร้าง
95. องค์กรขยายความรับผิดชอบให้บุคลากรทำงานมากขึ้น เป็นการสนองความต้องการข้อใด
ก. ความต้องการด้านสรีระ ข. ความต้องการด้านความปลอดภัย
ค. ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ ง. ความต้องการเกียรติยศ
96. การวางแผนดำเนินกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ ควรคำนึงถึงข้อใดเป็นอันดับแรก
ก. การเสริมประสิทธิภาพการทำงานประจำ ข. การใช้ทรัพยากร
ค. ความต้องการของบุคลากร ง. ระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม
97. หลักการข้อใดที่ทำให้บุคลากรเห็นความสำคัญของกิจกรรมกลุ่ม
ก. การประเมินผล ข. การติดตามการดำเนินงาน
ค. การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ง. การให้รางวัลชนะเลิศแก่กิจกรรมดีเด่น
98. ทำไมต้องคำนึงถึงระบบการฝึกอบรมในการจัดซื้อเทคโนโลยี
ก. ไม่ต้องสนใจ ข. เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงและมีเทคนิคที่ก้าวหน้า
ค. คนที่ซื้อไม่มีความรู้ก็ต้องฝึกอบรม ง. การฝึกอบรมเป็นของแถม มีหรือไม่มีก็ได้
99. ข้อใดไม่ใช่การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในงานการผลิต
ก. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ข. เครื่องกลึง CNC
ค. เครื่องอัดรูปมินิแลป ง. ระบบคอมพิวเตอร์ CIM
100. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการใช้หุ่นยนต์เพื่อการผลิต
ก. ทำงานที่อันตราย ข. ทำงานซ้ำซากจำเจ
ค. ทำงานที่คนไม่ชอบทำ ง. ทำงานที่มีอุณหภูมิ
ความคิดเห็น