ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    จักรวาลน่ารู้

    ลำดับตอนที่ #8 : กำเนิดจักรวาล : กำเนิดดาวฤกษ์

    • อัปเดตล่าสุด 13 พ.ค. 52


     

    กำเนิดดาวฤกษ์

                     หลังจากที่เกิดการระเบิดครั้งใหญ่ขึ้น ดาวฤกษ์ดวงแรกก็ก่อตัวขึ้นภายในกลุ่มก๊าซ หรือกลุ่มก๊าซและฝุ่นอวกาศขนาดใหญ่ที่หมุนวนในอวกาศ แรงดึงดูดทำให้กลุ่มก๊าซเหล่านี้หดตัวและเพิ่มความเร็วในการหมุนวน ดังนี้บริเวณใจกลางของกลุ่มก๊าซจึงร้อนขึ้นมาก (ขึ้นอยู่กับแรงดึงดูดที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง) และเมื่อมาถึงจุดหนึ่ง อุณหภูมิที่สูงขึ้นก็ทำให้เกิดปฏิกิริยาจนเกิดเป็นดาวดวงใหม่ขึ้น กระบวนการเกิดนั้นช้ามาก ต้องใช้เวลาหลายล้านปีกว่าจะเสร็จสิ้นกระบวนการดังกล่าว

                  เมื่ออุณหภูมิที่ศูนย์กลางกลุ่มก๊าซสูงขึ้นถึงหลายล้านองศาฟาเรนไฮต์ อะตอมไฮโดรเจนจะเริ่มชนกันจนเกิดเป็นอะตอมฮีเลียมขึ้นหรือการหลอมรวมกันของปรมาณู ปฏิกิริยาที่ถูกปล่อยออกมาจะเป็นพลังงานมหาศาลที่อยู่ในรูปของความร้อนและแสงสว่าง


    ดวงดาว (A) ไม่ได้กระจายออกไปทั่วทั้งจักรวาลอย่างสม่ำเสมอ แต่มันถูกรวมกลุ่มกันเป็นกาแล็กซี (B) กาแล็กซีถูกรวมกลุ่มเข้าด้วยกันเป็นหมู่ดาว (cluster) หรือหมู่ดาวขนาดใหญ่ (supercuuster) (C)

    ดวงอาทิตย์ ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้เรามากที่สุด เกิดขึ้นเมื่อราว 6 พันล้านปีมาแล้วและจะยังคงอยู่อย่างนั้นต่อไปอีก 7 พันล้านปีข้างหน้า

    1.

    2.

    3.

    4.

    5.

    แสงอาทิตย์ที่ส่องโชติช่วงเป็นก๊าซที่พุ่งออกมาจากดวงอาทิตย์เป็นลำสูงถึงหลายแสนไมล์

    จากhttp://www.rmutphysics.com/CHARUD/scibook/big-bang/index/indexpic8.htm
    ***จะกล่าวถึงเรื่องดาวฤกษ์อย่างละเอียดในภายหลัง***

    แสงอาทิตย์เปล่งออกไปทุกทิศทาง ให้ความสว่างแก่ดาวเคราะห์ต่าง ๆ ที่อยู่รายรอบมัน
    ศูนย์กลางของกลุ่มก๊าซระเบิดออก เกิดเป็นดวงอาทิตย์
    ศูนย์กลางร้อนจัดและกลุ่มก๊าซก็บางลง
    ขณะที่กลุ่มก๊าซหดตัวลง ศูนย์กลางของมันก็ร้อนขึ้น
    ตอนแรกมีกลุ่มก๊าซขนาดใหญ่และฝุ่นละอองในอวกาศ

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×