ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    แฟ้มพัฒนาการเรียนรู้ รายวิชาการประเมินโครงการ

    ลำดับตอนที่ #6 : การอบรมการประเมินโครงการ ตารางวิเคราะห์เหตุผลสัมพันธ์ของโครงการ

    • อัปเดตล่าสุด 17 มี.ค. 51


    ตารางวิเคราะห์เหตุผลสัมพันธ์โครงการ การประเมินโครงการ

     

     

     

    คำอธิบาย

    ตัวบ่งชี้

    หลักฐานเพื่อตรวจสอบ

    เงื่อนไขจำเป็น

    Goal

    โรงเรียนแต่ละโรงเรียนได้นำความรู้จากการอบรมครั้งนี้ไปใช้เป็นฐานในการประเมิน ซึ่งเป็นการประเมินที่มีคุณภาพสูง ตรวจสอบได้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาในอนาคต

    โรงเรียนแต่ละโรงเรียนได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายและมีผลการประเมินที่มีคุณภาพสามารถใช้เป็นแบบอย่างได้

    1. การนำเสนอผลการประเมินในระดับเขต ภาค หรือระดับประเทศ

    2. หลักฐานการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของการจัดโครงการ

    ความตระหนักและมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรมอันจะนำไปสู่การนำผลการประเมินไปใช้เพื่อปรับปรุงคุณภาพของการจัดโครงการทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาคนพัฒนาชาติในอนาคต

    Objective

    เขียนหรือเสนอโครงการใหม่หรือปรับปรุงโครงการเก่าให้มีสาระเพื่อการปฏิบัติได้ชัดเจน

    โครงการเป้าหมายเป็นโครงการที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วว่าควรค่าแก่การประเมินมีสาระเพื่อการปฏิบัติ เป็นโครงการที่ทำเพื่อสนองต่อนโยบายของหน่วยงานและมีประโยชน์ต่อการพัฒนาการจัดการศึกษา

    โครงการเป้าหมายที่ผ่านการคัดเลือกหรือ Rewrite

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

     

    เขียนโครงการประเมินที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เกี่ยวข้องมีตัวบ่งชี้ความสำเร็จที่เหมาะสม

    โครงการประเมินมีการระบุผู้เกี่ยวข้องชัดเจนตอบคำถามการประเมินครบถ้วน ให้สารสนเทศที่จำเป็นต่อการตัดสินใจ มีตัวบ่งชี้ความสำเร็จที่เหมาะสม มีความถูกต้องสามารถตรวจสอบได้

    รายงานการประเมินโครงการเป้าหมาย

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

     

    สามารถปฏิบัติการประเมินอย่างถูกต้องและสามารถสังเคราะห์สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

    สารสนเทศในการประเมินมีความน่าเชื่อถือและเพียงพอต่อการตัดสินใจ คำถามการประเมินทุกคำถามมีการค้นหาและวิเคราะห์คำตอบด้วยวิธีที่เหมาะสม

    การตั้งคำถามประเมิน และการกำหนดสารสนเทศเพื่อหาคำตอบของการประเมินที่ปรากฎในรายงานการประเมิน

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

     

    เสนอทางเลือกที่สร้างสรรค์นำเสนอผลการประเมินอย่างถูกต้องเหมาะสม

    ผลการประเมินให้สารสนเทศอันเป็นประโยชน์ต่อการนำไปพัฒนาโครงการของโรงเรียนในครั้งต่อไป

    ผลการประเมินและข้อเสนอแนะที่ปรากฏในรายงานการประเมิน

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

    Outputs

    โรงเรียนแต่ละโรงเรียนสามารถนำความรู้จากการอบรมไปใช้ในการประเมินโครงการเป้าหมายที่เลือก โดยรายงานการประเมินของแต่ละโรงเรียนมีคุณภาพสามารถนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้

    1. มีการจัดทำรายงานการประเมินที่มีคุณภาพมีสารสนเทศเพียงพอต่อการตัดสินใจ

    2. ผลการประเมินสามารถนำไปใช้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายและเสนอแนวทางที่จะนำไปสู่การพัฒนาโครงการ

    1. รายงานการประเมินโครงการเป้าหมาย

    2. นิทรรศการการประเมินโครงการ

    3. การนำเสนอการประเมินโครงการ

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

    3. การนิเทศเพื่อช่วยเหลือแบบกัลยาณมิตรของวิทยากร

    Activity

    การอบรม การประเมินโครงการ ประกอบด้วยการอบรม 5 ครั้ง และการนำเสนอผลงาน 1 ครั้งดังนี้

     

     

     

     

    การอบรมครั้งที่ 1 (5/1/51)

     

     

     

     

    การวางแผนโครงการตามเป้าหมายด้วย LFA

    ผู้เข้ารับการอบรมสามารถทำความเข้าใจโครงการเป้าหมาย วิเคราะห์และคัดเลือกโครงการเป้าหมายที่ควรทำการประเมินได้

    1. สร้างตารางวิเคราะห์เหตุผลสัมพันธ์ของโครงการเป้าหมายในแต่ละโรงเรียน

    2. การคัดเลือกและ Rewrite โครงการเป้าหมาย

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

     

    การอบรมครั้งที่ 2 (20/1/51)

     

     

     

     

    การกำหนดคำถามการประเมิน และหลักการประเมินโครงการ

    ผู้เข้ารับการอบรมสามารถระบุผู้ที่เกี่ยวข้องกำหนดคำถามการประเมินได้ตามลักษณะของโครงการแต่ละโครงการภายใต้ความเข้าใจในโครงการอย่างถูกต้อง

    1. คำถามการประเมินที่กำหนดขึ้นโดยผู้เข้ารับการอบรมซึ่งระบุถึงผู้ถาม แหล่งข้อมูล และเงื่อนไขจำเป็น

    2. การแก้ไขตารางวิเคราะห์เหตุผลสัมพันธ์ ให้มีความสอดคล้องซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจโครงการ

    3. โครงการเป้าหมายฉบับ Rewrite ครั้งที่ 2

    4. อนุทิน

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

     

    การอบรมครั้งที่ 3 (2/1/51)

     

     

     

     

    การปฏิบัติการการประเมินโครงการ

    ผู้เข้ารับการอบรมสามารถกำหนดตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพและสามารถอธิบายคุณลักษณะที่ต้องการวัดเพื่อหาคำตอบของคำถามประเมินได้

    1. ตัวบ่งชี้คุณภาพที่กำหนดขึ้นโดยผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งมีความสอดคล้องกับคำถามประเมินซึ่งสามารถอธิบายได้อย่างชัดเจนและนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจได้

    2. อนุทิน

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

     

    การอบรมครั้งที่ 4 (9/2/51)

     

     

     

     

    เครื่องมือและการเก็บข้อมูล

    ผู้เข้ารับการอบรมสามารถระบุเครื่องมือและวิธีการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการประเมินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

    1. คำถามการประเมิน และสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ ซึ่งมีการระบุตัวแปรและวิธีการเก็บข้อมูล

    2. อนุทิน

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

     

    การอบรมครั้งที่ 5 (16/2/51)

     

     

     

     

    1. การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบคำถามประเมิน

     

    ผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เหมาะสมในการจัดกระทำข้อมูลเพื่อนำผลที่ได้ไปสังเคราะห์เพื่อตอบคำถามประเมินได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

    1. การสังเคราะห์ผลการวิเคราะห์เพื่อใช้ในการตอบคำถามประเมิน

    2. อนุทิน

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

     

    2. การเขียนรายงานการประเมิน

    ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเขียนรายงานการประเมินโครงการเป้าหมายได้อย่างถูกต้องมีรายละเอียดชัดเจน

    1. รายงานการประเมินโครงการเป้าหมาย

    2. อนุทิน

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

    3. การนิเทศเพื่อช่วยเหลือแบบกัลยาณมิตรของวิทยากร

     

    การนำเสนอผลงาน (15/3/51)

     

     

     

     

    1. การนำเสนอโครงการ

    1. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำเสนอโครงการประเมินเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้

    2. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถให้ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์กับการทำโครงการในครั้งต่อไปได้

    1. นิทรรศการการประเมินโครงการ

    2. การนำเสนอผลการประเมินโครงการ

    3. ข้อเสนอแนะสำหรับการทำโครงการครั้งต่อไปในรายงานการประเมิน

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

     

    2. การให้ข้อเสนอแนะโดยวิทยากรและผู้ทรงคุณวุฒิ

    ผู้เข้ารับการอบรมสามารถปรับปรุงโครงการประเมินตามข้อคิดเห็นจากวิทยากรและผู้ทรงคุณวุฒิ

    รายงานการประเมินที่ได้รับการแก้ไขของแต่ละโรงเรียนซึ่งตีพิมพ์ลงในเอกสารเล่มเต็มของการจัดการอบรม

    1. ความตั้งใจในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการอบรม

    2. การทำความเข้าใจกับแต่ละโรงเรียนโดยผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม

    Inputs

    1. การสนับสนุนงบประมาณจากกรุงเทพมหานครผ่านทางโครงการความร่วมมือฯ

    งบประมาณเพียงพอต่อการจัดโครงการ

    เอกสารการเบิกจ่ายงบประมาณ

    สถานที่และกำหนดการต้องมีความชัดเจน

     

    2. วิทยากรและผู้ช่วยวิทยากรที่ทำหน้าที่ในการจัดโครงการ

    จำนวนวิทยากรและผู้ช่วยวิทยากรเพียงพอต่อการดำเนินโครงการ

    1. รายชื่อวิทยากร และผู้ช่วยวิทยากร

    2. หลักฐานการปฏิบัติงานของวิทยากรและผู้ช่วย

    ความรู้พื้นฐานและการทำความเข้าใจกับผู้ช่วยวิทยากร

     

    3. สถานที่และบรรยากาศในการอบรม

    1. สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการอบรมมีความเหมาะสม

    2. อาหารและเครื่องดื่มมีความเหมาะสม

    ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรม

     

    การประสานงานกับโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

     

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×