ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    เมโสโปเตเมีย อารยธรรม 5000ปี

    ลำดับตอนที่ #3 : ซิกกูแรต คือ อะไร?(อัพเดตข้อมูล+รูปภาพ)

    • อัปเดตล่าสุด 30 ต.ค. 52



    หลายท่านคงเคยเห็นอาคารรูปร่างแปล่ก คล้ายพีระมิด สูงๆ(สมัยนั้นแค่นั้นเขาก็ว่าสูงแล้ว)

    มีบันไดขึ้นไป(คล้ายๆกับพีระมิดในอเมริกากลาง)


    ซิกกูรัต มาจากคำในภาษาอัคคาเดี้ยน ซึ่งแปลว่า ภูเขาหรือยอดเขา เป็นศาสนสถานที่สำคัญของชาวเมโสโปเตเมีย ที่ใช้ข้างบนเป็นที่ประกอบพิธีกรรม มีตั้งแต่ในอิหร่านไปจนถึงซีเรีย 
    แต่ไม่ได้หมายความว่าพวกเขาจะใช้ซิกกูรัตทำพิธีกรรมทุกครั้งเสมอไป เพราะซิกกูรัตจะใช้ต่อเมื่อมีพิธีสำคัญหรือวันสำคัญต่างๆ
    ที่ชาวเมืองจะมาชุมนุมกัน และแห่ฉลองไปทั่วเมือง และมาลงเอยที่ซิกกูรัต ด้วยการบูชายันสัตว์ เช่น วัว 
    แต่บางที เพื่อที่จะแก้บนที่ได้ขอเทพเจ้าต่างๆไว้ ชาวเมโสโปเตเมียก็จะนำเอาบุตรของตนมาสังเวยชีวิตบนยอด(ปะป๊านะๆ จำไว้T^T)





    ซิกกูรัตที่ใหญ่ที่สุด


     ซิกกูรัตที่ครองตำแหน่งใหญ่ที่สุดก็อยู่ที่อิหร่าน นามว่า ซิกกูรัตแห่งโชกา ซันบิล(Choga Zunbil)(สองรูปข้างบนนั่นแหละ)
    แค่เฉพาะความกว้างรากฐานก็ปาเข้าไป 350ฟุตต่อด้านแล้ว
    เป็นซิกกูรัตที่สำคัญของชาวเอลาไมต์Elamite(ไม่ใช่กบฏพยัคฆ์ทมิฬอีแลมนะเฮ่ย) ซึ่งเป็นชาติที่อาศัยในอิหร่าน

    ส่วนที่สูงที่สุดก็คือ ซิกกูรัตของชาวบาบิโลเนียน นามว่า ซิกกูรัตแห่งเอเตเมนานกิ ในเมืองบาบิโลน ได้ครองแชมป์ซิกกูรัตที่สูงที่สุด
    คื่อสุงถึง 91เมตร(กว่า300ฟุต) มีทั้งหมด7ชั้นด้วยกัน
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×