ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    Fic beyblade newstory year

    ลำดับตอนที่ #2 : ปฐมบท 100%

    • อัปเดตล่าสุด 2 ก.พ. 54


    โรงเรียนประถม HSGB. Hiper Student

    วิชาวิทยาศาสตร์

    ครูประจำวิชา- วันนี้ป.5กับป.6จะเรียนรวมกันนะ
    มาโคโตะ- น่าเบื่อชมัดเลยวิชาวิทยาศาสตร์เนี้ย
    ริน- มาโคโตะตั้งใจหน่อยสิ!!
    เรย์น่า- ไม่สนใจเดี่ยวโดนครูถามหรอก
    ครู- คิโนมิยะคุงแคลลอรี่คืออะไรจ๊ะ แบ่งเป็นกี่ชนิด
    มาโคโตะ- ไม่....ไม่รู้ครับ รู้แค่ว่าแบ่งเป็นสองครับ....
    ครู- ไม่รู้แล้วทำไมไม่สนใจจ๊ะ -*-
    มาโคโตะ- ขอโทษครับ T T
    ครู- แล้วคนอื่นละจ๊ะ
    เรย์น่า- แคลอรี (อังกฤษ: Calorie) เป็นหน่วยวัดพลังงานอย่างหนึ่ง โดยทั่วไปการวัดหน่วยพลังงานมักใช้หน่วย "จูล" ซึ่งเป็นมาตราเอสไอสำหรับการวัดพลังงาน ส่วนแคลอรีมักใช้ในการวัดหน่วยพลังงานอาหาร ผู้บัญญัติหน่วยแคลอรีเป็นคนแรกคือ ศาสตราจารย์นิโคลัส เคลเมนต์ (Nicolas Clément) เมื่อปี ค.ศ. 1824 โดยกำหนดเป็น กิโลกรัม-แคลอรี หน่วยวัดนี้บรรจุลงในพจนานุกรมของฝรั่งเศสและอังกฤษในปี ค.ศ. 1842 และ 1867 ตามลำดับ ค่ะ
    ริน- การวัดหน่วยแคลอรีแบ่งได้เป็นสองแบบ คือ
    กรัม-แคลอรี มีค่าเท่ากับพลังงานที่ต้องใช้เพื่อทำให้อุณหภูมิของน้ำ 1 กรัม เพิ่มขึ้น 1 °C มีค่าประมาณ 4.184 จูลกิโลกรัม-แคลอรี มีค่าเท่ากับพลังงานที่ต้องใช้เพื่อทำให้อุณหภูมิของน้ำ 1 กิโลกรัม เพิ่มขึ้น 1 °C มีค่าประมาณ 4.184 กิโลจูล หรือเท่ากับ 1000 กรัม-แคลอรี ค่ะ
    ครู- ถูกต้องจ๊ะ แล้วใครรู้บ้างว่า สารละลายไบยูเรตคืออะไร
    ไอริส- การทดสอบไบยูเร็ตเป็นวิธีการที่ใช้ตรวจสอบพันธะเปบไทด์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารีดักชั่นของไอออน copper(II) ไปเป็น copper(I) ที่จะไปเกิดสารเชิงซ้อนกับไนโตรเจนของพันธะเปบไทด์ในสารละลายที่เป็นเบส ถ้าเกิดสีม่วงแสดงว่ามีโปรตีน การทดสอบไบยูเร็ตนี้ใช้หาปริมาณโปรตีนได้เพราะพันธะเปบไทด์เกิดขึ้นในความถี่เดียวกันต่อโปรตีน 1 กรัม ในโปรตีนหลายชนิด ความเข้มของสีที่มีการดูดกลืนที่ 540 nm แปรผันโยตรงกับความเข้มข้นของโปรตีนการทดสอบทำได้โดยเติมปริมาณที่เท่ากันของ 1% KOH (โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์) และ 1 % CuSO4 2-3 หยด ลงในสารละลายตัวอย่าง ถ้ามีโปรตีนจะเกิดสีม่วงโดยตรวจจวัดโปรตีนได้ที่ประมาณ 5-160 mg/ml

    ครู- Good ต่อไปเป็นคำถามนอกบทเรียนนะ ใครรู้เรื่องสารฟิสิกส์อะตอมบ้างจ๊ะ

    เงียบ...............................

    เรย์น่า- ครูค่ะนี้มันคำถามม.ต้นเลยนะค่ะหนูว่ามันอยากนะ
    ครู- นั้นสิน่ะ
    ไอริส- แต่มีคนนึงที่รู้ค่ะ
    มาโคโตะ- คนแบบนั้นมีด้วยเหรอไอริสจัง
    ไอริส- มีสิ คนนี้ไง
    โกล์-   คำว่า อะตอม เป็นคำซึ่งมาจากภาษากรีกแปลว่าสิ่งที่เล็กที่สุด ซึ่งนักปราชญ์ชาวกรีกโบราณที่ชื่อ ลูซิพปุส(Leucippus) และดิโมคริตุส (Democritus) ใช้สำหรับเรียกหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร ที่ไม่สามารถแบ่งแยกต่อไปได้อีก โดยเขาได้พยายามศึกษาเกี่ยวกับวัตถุที่มีขนาดเล็ก (ฟิสิกส์ระดับจุลภาค, microscopic) และมีแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างของสสารว่า สสารทั้งหลายประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุด จะไม่สามารถมองเห็นได้ และจะไม่สามารถแบ่งแยกให้เล็กลงกว่านั้นได้อีก แต่ในสมัยนั้นก็ยังไม่มีการทดลอง เพื่อพิสูจน์และสนับสนุนแนวความคิดดังกล่าว
    ต่อมาวิทยาศาสตร์ได้เจริญก้าวหน้าขึ้น และนักวิทยาศาสตร์ก็พยายามทำการ ทดลองค้นหาคำตอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ในรูปแบบต่างๆตลอดมา จนกระทั่งเกิดทฤษฎีอะตอมขึ้นมาในปี ค.ศ.1808 จากแนวความคิดของจอห์น ดาลตัน (John Dalton) ผู้เสนอสมมติฐานเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอม และเป็นที่ยอมรับและสนับสนุนจากนักวิทยาศาสตร์ในสมัยนั้น โดยทฤษฎีอะตอมของดาลตันได้  กล่าวว่า
     1 สสารประกอบด้วยอะตอม ซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุด แบ่งแยกต่อไปอีกไม่ได้ และไม่สามารถสร้างขึ้นหรือทำลายให้สูญหายไป
    2  ธาตุเดียวกันประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกัน มีมวลและคุณสมบัติเหมือนกัน แต่จะแตกต่างจากธาตุอื่น
    3 สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปด้วยสัดส่วนที่คงที่
    4  อะตอมของธาตุแต่ละชนิดจะมีรูปร่างและน้ำหนักเฉพาะตัว น้ำหนักของธาตุที่รวมกัน ก็คือน้ำหนักของอะตอมทั้งหลายของธาตุที่รวมกัน
    ครู- ถูกต้อง...จ...จ๊ะ สมเป็น ฮิวาตาริ โกล์คุง งั้นวันนี้พอก่อนนะ

    หลังเลิกเรียน

    มาโคโตะ- โกล์นายไปรู้มาจากไหนนะฟิ....ฟิเสก...
    ริน- ฟิสิกส์อะตอมย่ะ
    มาโคโตะ- ใช่ๆนั้นแลหะ
    เรย์น่า- มันความรู้ระดับม.ต้น ในระดับม.2 เลยนะโกล์ซัง (ซัง=คุณ)
    โกล์- ฉันขอให้พ่อซื้อให้...... แล้วเอามาอ่าน
    ไอริส- ก็ปีหน้าพี่ขึ้นม.ต้นแล้วนี่เนอะ คงจะเตรียมตัวพร้อมเลยสิท่า 
    โกล์- ทำนองนั้นแหละ....
    มาโคโตะ- ว่าแต่ที่นี้เนื้อหาการสอนยากชมัดเลยป.5ยังกะป.6 ป.6ยังกะม.1 -*-
    เรย์น่า- ก็โรงเรียนนี้สอนแค่3วันเต็มเองนี่น่าเพราะงั้นเลยต้องเสริมเนื้อหาเยอะๆ วันนี้เราเลยกลับเร็วไง
    มาโคโตะ- สมเป็นโรงเรียนที่ติดระดับประเทศ -0-
    โกล์- ว่าแต่พวกนายจะมาบริษัทพ่อฉันทำไมเนี้ย......
    มาโคโตะ- คือว่า......
    ริน- พวกเรามีการบ้านเลขในจุดที่ไม่เข้าใจน่ะ
    เรย์น่า- เลยอยากให้โกล์ซังสอนหน่อย
    มาโคโตะ/ริน/เรย์น่า- น่าขอร้อง!!!*0*
    ไอริส- น่ะพี่ค่ะ หนูเองก็อยากให้พี่สอนเหมือนกัน
    โกล์- ก็ได้ๆ

    ห้องพักในบริษัท HT. Copuration (บริษัทที่ใหญ่ ติดท๊อป10ของโลก (เวอร์นิดๆ) )
    ไอริส- ขออนุญาตค่ะ..... คุณแม่ พวกคุณอาทาคาโอะ!! 
    ฮารูนะ- ไงจ๊ะกลับมาแล้วเหรอ
    ริน/เรย์น่า/มาโคโตะ- พ่อ แม่ค่ะ/ครับ
    ไอริส- วันนี้แม่งานน้อยเหรอค่ะ ถึงกลับเร็ว
    ฮารูนะ- จ๊ะ
    โกล์- พ่อยังประชุมอยู่เหรอครับ......
    ฮารูนะ- ใช่ อย่าเสียงดังละ พ่อน่ะจะกลับตอน6โมงเย็นนะ ถ้าพวกลูกเบ่อก็ให้เซบาสเตียนมารับนะ
    ไอริส- ค่ะ....เดี๋ยวพวกหนูจะทำการบ้านก่อน
    ไค- อย่าอึกทึกมากละ
    ไอริส- พ่อค่ะ!!!
    โกล์- ยังประชุมอยู่ไม่ใช่เหรอครับ
    ไค- พ่อออกมาเอาเอกสารนะ เดี๋ยวไปประชุมต่อถ้าเบื่อพวกลูกก็กลับพร้อมแม่ละกัน
    ฮารุนะ- ไม่ต้องห่วงค่ะ หนูจะดูลูกเองพี่
    ทาคาโอะ- ว่าไงมาโคโตะที่โรงเรียนเป็นยังไงบ้าง
    มาโคโตะ- คือว่า...
    โกล์- ไม่ฟังครูเลยโดนทำโทษนะครับ - -
    มาโคโตะ- เงียบไปเลยโกล์ !!!
    ทาคาโอะ- ก็สมที่จะให้ครูลงโทษแล้วละไม่ฟังครูเองนี่
    ฮิโรมิ- ว่าแต่ลูกนายเองน่ะเรียนแย่กว่าลูกอีกน่ะ
    ทาคาโอะ- (หน้าแตก).....
    มาโคโตะ- ตอนพ่อเด็กๆเรียนแย่กว่านี้อีกเหรอครับ
    ฮิโรมิ- ใช่จ๊ะ....ที่มาเป็นอาจารย์เบลดเดอร์ได้นะ.....
    ทาคาโอะ- นี่คุณภรรยาที่รัก!!!!
    มาโอ- วันนี้เป็นไงบ้างลูก
    ริน- ดีค่ะ หนูได้คะแนนพิเศษกับเรย์น่าเรื่องการตอบปัญญหาแคลลอรี่ด้วย
    โคโตนะ- จริงเหรอจ๊ะเรย์น่า
    เรย์น่า- ค่ะ
    เรย์- ท่าทางลูกนายนะจะได้มันสมองจากนายนะบรู๊คลิน
    บรู๊คลิน- ลูกสาวนายก็ด้วยแหละน่า
    แม็ก- ดีเนอะ พวกนายสละโสดไปแล้ว
    เคียวจู- พวกเรายังไม่มีโอกาสเลย
    ไดจิ- ใช่...
    ริน-  อาแม็ก กับ อาเคียวจู มีโอกาสแต่ลุงไดจิไม่มีหรอก
    ไดจิ- ว่าไงนะยัยหนู!!
    ริน- แนะจริงจับให้ได้สิ!!!
    คนอื่นๆ- 5555+

    ติดตามตอนต่อไป



    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน
    นิยายแฟร์ 2024

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×