ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    • ฟอนต์ THSarabunNew
    • ฟอนต์ Sarabun
    • ฟอนต์ Mali
    • ฟอนต์ Trirong
    • ฟอนต์ Maitree
    • ฟอนต์ Taviraj
    • ฟอนต์ Kodchasan
    • ฟอนต์ ChakraPetch
physic ม.ปลาย

ลำดับตอนที่ #1 : บทนำและการวัด

  • อัปเดตล่าสุด 14 มี.ค. 54


ในบทแรกนี้จะเกี่ยวข้องกับการวัด 

หน่วยที่ใช้คือระบบหน่วยระหว่างชาติหรือหน่วย SI (International System of Unit)ประกอบด้วย

1. หน่วยฐาน มี 7 หน่วย

ปริมาณฐาน

ชื่อหน่วย

สัญลักษณ์

ความยาว

เมตร

m

มวล

กิโลกรัม

kg

เวลา

วินาที

s

กระแสไฟฟ้า

แอมแปร์

A

อุณหภูมิ

เคลวิน

K

ปริมาณของสาร

โมล

mol

ความเข้มของการส่องสว่าง

แคนเดลา

cd



2. หน่วยเสริม มี  2 หน่วย
 1. มุมจากจุดศูนย์กลางวงกลมถึงส่วนโค้งยาวเท่ากับรัศมี คือ เรเดียน (rad)
 2. มุมจากจุดศูนย์กลางทรงกลมเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสถึงส่วนโค้งยาวเท่ากับรัศมี คือ สเตอเรเดียน(sr )

3.หน่วยอนุพันธ์

ปริมาณ

ชื่อหน่วย

สัญลักษณ์

ความเร็ว

เมตร/ วินาที

m/s

ความเร่ง

เมตร/วินาที2

m/s2

แรง

นิวตัน

N

งาน

จูล

J

กำลัง

วัตต์

W

ความถี่

เฮิรตซ์

Hz

ความดัน

พาสคาล

Pa


4.คำอุปสรรค

คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ

ตัวพหุคูณ

ชื่อ

สัญลักษณ์

เอกซะ (exa)

E

เพตะ (peta)

P

เทระ (tera)

T

จิกะ (giga)

G

เมกะ  (mega)

M

กิโล (kilo)

k

เฮกโต (hecto)

h

เดคา (deca)

da

เดซิ (deci)

d

เซนติ (centi)

c

มิลลิ (milli)

m

ไมโคร (micro)

นาโน (nano)

n

ฟิโก (pico)

p

เฟมโต (femto)

f

อัตโต (atto)

a


ตัวอย่างการเปลี่ยนหน่วย

  ตัวอย่างที่ 1   มวลขนาด  0.4  มิลลิกรัมมีขนาดกี่กิโลกรัม

               วิเคราะห์โจทย์  เปลี่ยนมิลลิกรัม ----->   กรัม  -------> กิโลกรัม  ตามลำดับ
                                        จาก  0.4  mg        =     0.4  x     g
                                                                      =        g    (   g = kg)
                                                                      =      kg
                                               0.4 mg          =   0.4  x     kg
             ดังนั้น                0.4  มิลลิกรัม  มีขนาดเท่ากับ 0.4  x    กิโลกรัม



เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์

การอ่านผลจากเครื่องมือวัด

    • การอ่านค่าจากเครื่องมือวัดแบบแสดงผลด้วยขึดสเกล   เช่น ไม้บรรทัดที่มีช่องสเกลเล็กที่สุดเท่ากับ  1  มิลลิเมตร  หรือ 0.1  เซนติเมตร  เราก็สามารถอ่านได้ละเอียดที่สุดเพียงทศนิยมตำแหน่งเดียวของเซนติเมตรเท่านั้น   และเราต้องประมาณค่าตัวเลขหลังทศนิยมตำแหน่งที่สองเพื่อให้ได้ผลการวัดใกล้เคียงความจริงที่สุด

      2.   การอ่านค่าจากเครื่องวัดแบบแสดงผลด้วยตัวเลข  สามารถอ่านได้โดยตรงตามตัวเลขบนจอภาพ  เช่น เวลา  
            10.10 นาฬิกา   ของหนัก   1.53  กิโลกรัม  เป็นต้น  ไม่ต้องบอกค่าประมาณ  สำหรับค่าความไม่แน่นอน  หรือความคลาดเคลื่อน
            ของผลการวัดนั้น  ถ้าจำเป็นจะต้องระบุ  ให้ดูจากคู่มือการใช้งานของเครื่องมือวัดนั้น ๆ

เลขนัยสำคัญ

หลักการนับเลขนัยสำคัญ

  1.  ถ้าอยู่ในรูปจำนวนเลขทศนิยมให้เริ่มนับตัวเลขแรกที่เป็นเลขโดด (1 ถึง 9)  ตัวเลขถัดไปนับหมดทุกตัว เช่น  0.561,  5.02,  10.00,  0.50   มีจำนวนเลขนัยสำคัญ  3,  3,  2,   4  และ  2  ตัว ตามลำดับ
  2. ถ้าวอยู่ในรูป   เมื่อ  (1  A  < 10)  และ  n  เป็นเลขจำนวนเต็ม ให้พิจารณาที่ค่า  A  เท่านั้นโดยใช้หลักเหมือนกับข้อ  1  โดยไม่ต้องคำนึงถึง n เช่น  ,   (หรือ ),  (หรือ ),   (หรือ )  มีเลขนัยสำคัญ 2, 2,  4  และ  2  ตัว ตามลำดับ
  3. ถ้าอยู่ในรูปจำนวนเต็มให้นับหมดทุกตัวเช่น  16,  125,  5134,   60251  มีจำนวนเลขนัยสำคัญ  2,  3,    4, และ  5 ตามลำดับ แต่ถ้าเลขตัวท้าย ๆ  เป็นเลขศูนย์  ต้องจัดให้อยู่ในรูป     แล้วตอบตามรูปของการจัดเท่าที่เป็นไปได้  โดยมีความหมายเหมือนเดิม   
              เช่น   15,000                       สามารถเขียนได้เป็น
                                     มีจำนวนเลขนัยสำคัญ  2   ตัว
                                   มีจำนวนเลขนัยสำคัญ  3   ตัว
                                มีจำนวนเลขนัยสำคัญ  4   ตัว
                             มีจำนวนเลขนัยสำคัญ  5   ตัว 

               แต่     จัดไม่ได้  เพราะว่าความหมายผิดจากเดิม คือได้ 15000.0  ซึ่งละเอียดกว่า 15000  
       ดังนั้น     15000   จึงมีเลขนัยสำคัญ     2   ถึง   5   ตัว

การบวกและการลบเลขนัยสำคัญ 

                 การบวกและการลบเลขนัยสำคัญ   ให้บวกลบแบบวิธีการทางคณิตศาสตร์ก่อน  แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้  โดยผลลัพธ์ของเลขนัยสำคัญที่ได้ต้องมีตำแหน่งทศนิยมละเอียดเท่ากับปริมาณที่มีความละเอียดน้อยที่สุด   เช่น

               (1)    2.12 + 3.895 + 5.4236   =    11.4386
                         ปริมาณ                 2.12           มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 2
                                                      3.895        มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3
                                                      5.4236      มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 4
                        ผลลัพธ์  11.4236   มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่  4  ละเอียดมากกว่าเครื่องมือวัดที่อ่านได้   2.12,  3.895      ดังนั้นผลลัพธ์ของเลขนัยสำคัญต้องมีความละเอียดไม่เกินทศนิยมตำแหน่งที่  2  แต่ให้พิจารณาเลยไปถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3 ว่าถึง 5 หรือไม่  ถ้าถึงก็ให้เพิ่มค่าทศนิยมตำแหน่งที่  2  อีก  1  
                          ดังนั้นผลลัพธ์          คือ   11.44

              (2)      15.7962  +  6.31   -  16.8    =     5.3062
                          จากตัวอย่าง  (1)    ผลลัพธ์  คือ  5.3

การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ

              การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ ให้ใช้วิธีการคูณและหารเหมือนทางคณิตศาสตร์ก่อน  แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้   โดยผลลัพธ์จะต้องมีจำนวนเลขนัยสำคัญเท่ากับจำนวนเลขนัยสำคัญของตัวคูณหรือตัวหารที่น้อยที่สุด  เช่น

             (1)   432.10   x    5.5     =    2376.55
                     ปริมาณ      432.10           มีจำนวนเลขนัยสำคัญ       5    ตัว
                                       5.5                 มีจำนวนเลขนัยสำคัญ       2    ตัว
                      ผลลัพธ์      2376.55        มีจำนวนเลขนัยสำคัญ       6    ตัว        แต่ผลลัพธ์ที่ได้ จะมีจำนวนเลขนัยสำคัญได้เพียง 2 ตัว 
                                       เท่านั้น  ก็คือ  2  และ  3  แต่ตัวที่สามถัดจาก 3 เ  ป็นเลข  7 ให้เพิ่มค่าตัวหน้าคือ 3  อีก  1  เป็น   4   ดังนั้นคำ
                                       ตอบควรได้   2400  แต่ต้องจัดให้มีเลขนัยสำคัญเพียง   2  ตัว   จึงจัดได้เป็น     

             (2)    0.6214   4.52   =   0.1374778
                       จากตัวอย่าง  2   ผลลัพธ์  คือ   0.137

เรื่องนี้หลายคนมองข้ามเลยตกม้าตายง่ายๆเลยค่ะ

ขอขอบคุณ

สรุปสูตรฟิสิกส์ ม.4 ของ อ. เฉลิมชัย มอญสุขำ
ครูอรพิน  สีแก้ว http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/285/22/measurement/index.html


By wickynana


ติดตามเรื่องนี้
เก็บเข้าคอลเล็กชัน

ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

1ความคิดเห็น

กำลังโหลด...

1ความคิดเห็น

กำลังโหลด...
×
แทรกรูปจากแกลเลอรี่ - Dek-D.com
L o a d i n g . . .
x
เรียงตาม:
ใหม่ล่าสุด
ใหม่ล่าสุด
เก่าที่สุด
ที่กำหนดไว้
*การลบรูปจาก Gallery จะส่งผลให้ภาพที่เคยถูกนำไปใช้ถูกลบไปด้วย

< Back
แทรกรูปโดย URL
กรุณาใส่ URL ที่ขึ้นต้นด้วย
http:// หรือ https://
กำลังโหลด...
ไม่สามารถโหลดรูปภาพนี้ได้
*เมื่อแทรกรูปเป็นการยืนยันว่ารูปที่ใช้เป็นของตัวเอง หรือได้รับอนุญาตจากเจ้าของ และลงเครดิตเจ้าของรูปแล้วเท่านั้น
< Back
สร้างโฟลเดอร์ใหม่
< Back
ครอปรูปภาพ
Picture
px
px
ครอปรูปภาพ
Picture