เคมี ม.4เทอม1 - นิยาย เคมี ม.4เทอม1 : Dek-D.com - Writer
×

    เคมี ม.4เทอม1

    แบบจำลองอะตอมแบบต่างๆ สมบัติของธาตุตามหมู่ ตามคาบ พันธะเคมี ไออนิก โคเวเลนต์ โลหะ

    ผู้เข้าชมรวม

    26,341

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    2

    ผู้เข้าชมรวม


    26.34K

    ความคิดเห็น


    14

    คนติดตาม


    9
    จำนวนตอน :  0 ตอน
    อัปเดตล่าสุด :  1 ก.ย. 66 / 17:57 น.
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

    แบจำลองอะตอม
    1. แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
       


    1. จอห์น   ดอลตัน เป็นคนแรกที่เสนอทฤษฎีอะตอมและแบบจำลองอะตอม
        ทฤษฎีอะตอมของดอลตันกล่าวว่า
        - อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กที่สดแบ่งแยกไม่ได้
        - สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุสองชนิดขึ้นไปรวมตัวกันด้วยอัตราส่วนเป็นเลขลงตัวน้อยๆ
        - อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน

    2. แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
        ทอมสัน ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สและพบ e(electron) โดยบังเอิญ
       
        ในการทดลองใช้หลอดแก้วสูบเอาอากาศออกมา ภายในหลอดแก้วมีขั้วโลหะอยู่สองขั้ว
        เมื่อต่อกับความต่างศักย์ 10,000 Volts พบว่ามีรังสีเกิดขึ้นในหลอดแก้วนั้นอยู่ระหว่างขั้วโลหะทั้งสองขั้ว
        ต่อมาทอมสันก็ดัดแปลงหลอดแก้วใหม่ ดังรูป
        
          
        ผลการทดลองครั้งใหม่ของเขา ปรากฏว่า มีรังสีเดินทางจากขั้วแคโทดไปยังแอโนด และ
      ไปตกกระทบที่ฉากเรืองแสงด้านหลังขั้วแอโนด เมื่อนำสนามไฟฟ้าไปวางระหว่างฉากเรืองแสง
       กับขั้วแอโนด รังสีที่เกิดขึ้นจะเบนเข้าหาขั้วบวก จึงสรุปได้ว่า
    รังสีนั้นมีประจุลบ เรียกรังสีนั้นว่า รังสีแคโทด
       ซึ่งเมื่อทอมสันลองเปลี่ยนชนิดแก๊สที่อยู่ในหลอด พบว่าให้ผลเหมือนกัน จึงสรุปได้ว่า
      
    อนุภาคประจุลบของทุกธาตุมีสใบติเหมือนกัน และเราเรียนอนุภาคประลบนั้นว่า อิเล็กตรอน(Electron) 
       อิเล็กตรอนมีค่าประจุต่อมวล(e/m) = 1.76*10^8 c/g
      
      
    ต่อมามิลลิแกนได้ทำการทดลองหาประจุของ e โดยใช้วิธีหยดน้ำมัน ได้ว่า
       ประจุของe =1.6*10^19 c  มวลe = 9.11*10^-28 
      

    1. จอห์น   ดอลตัน
    เป็นคนแรกที่เสนอทฤษฎีอะตอมและแบบจำลองอะตอม
        ทฤษฎีอะตอมของดอลตันกล่าวว่า
        - อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กที่สดแบ่งแยกไม่ได้
        - สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุสองชนิดขึ้นไปรวมตัวกันด้วยอัตราส่วนเป็นเลขลงตัวน้อยๆ
        - อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน

    2. แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
        ทอมสัน ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สและพบ e(electron) โดยบังเอิญ
       
        ในการทดลองใช้หลอดแก้วสูบเอาอากาศออกมา ภายในหลอดแก้วมีขั้วโลหะอยู่สองขั้ว
        เมื่อต่อกับความต่างศักย์ 10,000 Volts พบว่ามีรังสีเกิดขึ้นในหลอดแก้วนั้นอยู่ระหว่างขั้วโลหะทั้งสองขั้ว
        ต่อมาทอมสันก็ดัดแปลงหลอดแก้วใหม่ ดังรูป
        
          
        ผลการทดลองครั้งใหม่ของเขา ปรากฏว่า มีรังสีเดินทางจากขั้วแคโทดไปยังแอโนด และ
      ไปตกกระทบที่ฉากเรืองแสงด้านหลังขั้วแอโนด เมื่อนำสนามไฟฟ้าไปวางระหว่างฉากเรืองแสง
       กับขั้วแอโนด รังสีที่เกิดขึ้นจะเบนเข้าหาขั้วบวก จึงสรุปได้ว่า
    รังสีนั้นมีประจุลบ เรียกรังสีนั้นว่า รังสีแคโทด
       ซึ่งเมื่อทอมสันลองเปลี่ยนชนิดแก๊สที่อยู่ในหลอด พบว่าให้ผลเหมือนกัน จึงสรุปได้ว่า
      
    อนุภาคประจุลบของทุกธาตุมีสใบติเหมือนกัน และเราเรียนอนุภาคประลบนั้นว่า อิเล็กตรอน(Electron) 
       อิเล็กตรอนมีค่าประจุต่อมวล(e/m) = 1.76*10^8 c/g
      
      
    ต่อมามิลลิแกนได้ทำการทดลองหาประจุของ e โดยใช้วิธีหยดน้ำมัน ได้ว่า
       ประจุของe =1.6*10^19 c  มวลe = 9.11*10^-28 
      


    1. จอห์น   ดอลตัน เป็นคนแรกที่เสนอทฤษฎีอะตอมและแบบจำลองอะตอม
        ทฤษฎีอะตอมของดอลตันกล่าวว่า
        - อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กที่สดแบ่งแยกไม่ได้
        - สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุสองชนิดขึ้นไปรวมตัวกันด้วยอัตราส่วนเป็นเลขลงตัวน้อยๆ
        - อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน

    2. แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
        ทอมสัน ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สและพบ e(electron) โดยบังเอิญ
       
        ในการทดลองใช้หลอดแก้วสูบเอาอากาศออกมา ภายในหลอดแก้วมีขั้วโลหะอยู่สองขั้ว
        เมื่อต่อกับความต่างศักย์ 10,000 Volts พบว่ามีรังสีเกิดขึ้นในหลอดแก้วนั้นอยู่ระหว่างขั้วโลหะทั้งสองขั้ว
        ต่อมาทอมสันก็ดัดแปลงหลอดแก้วใหม่ ดังรูป
        
          
        ผลการทดลองครั้งใหม่ของเขา ปรากฏว่า มีรังสีเดินทางจากขั้วแคโทดไปยังแอโนด และ
      ไปตกกระทบที่ฉากเรืองแสงด้านหลังขั้วแอโนด เมื่อนำสนามไฟฟ้าไปวางระหว่างฉากเรืองแสง
       กับขั้วแอโนด รังสีที่เกิดขึ้นจะเบนเข้าหาขั้วบวก จึงสรุปได้ว่า
    รังสีนั้นมีประจุลบ เรียกรังสีนั้นว่า รังสีแคโทด
       ซึ่งเมื่อทอมสันลองเปลี่ยนชนิดแก๊สที่อยู่ในหลอด พบว่าให้ผลเหมือนกัน จึงสรุปได้ว่า
      
    อนุภาคประจุลบของทุกธาตุมีสใบติเหมือนกัน และเราเรียนอนุภาคประลบนั้นว่า อิเล็กตรอน(Electron) 
       อิเล็กตรอนมีค่าประจุต่อมวล(e/m) = 1.76*10^8 c/g
      
      
    ต่อมามิลลิแกนได้ทำการทดลองหาประจุของ e โดยใช้วิธีหยดน้ำมัน ได้ว่า
       ประจุของe =1.6*10^19 c  มวลe = 9.11*10^-28 
      

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    คำนิยม Top

    "Great one"

    (แจ้งลบ)

    ขอบคุณมากค่ะ ช่วยในการอ่านได้มากเลยทีเดียว อ่านควบคู่หนังสือได้เลยนะ เนื้อหาคล้ายๆเคมี ม.4-6 เล่มหนึ่งเลย แต่อันนี้มีรูปภาพให้เห็นและเนื้อหาอาจดูเหมือนน้อย แต่พออ่านจริงแล้วเนื้อหาเขาแน่นปึ้กเลยทีเดียวค่ะ เขียนข้อมูลได้ตรงประเด็น และ วิเคราห์ให้เห็นว่าการทดลองไหนทำให้เกิดการค้นพบสิ่งใดด้วยค่ะ แอบเสียดายนิดหนึ่งที่ไม่ได้ม ... อ่านเพิ่มเติม

    ขอบคุณมากค่ะ ช่วยในการอ่านได้มากเลยทีเดียว อ่านควบคู่หนังสือได้เลยนะ เนื้อหาคล้ายๆเคมี ม.4-6 เล่มหนึ่งเลย แต่อันนี้มีรูปภาพให้เห็นและเนื้อหาอาจดูเหมือนน้อย แต่พออ่านจริงแล้วเนื้อหาเขาแน่นปึ้กเลยทีเดียวค่ะ เขียนข้อมูลได้ตรงประเด็น และ วิเคราห์ให้เห็นว่าการทดลองไหนทำให้เกิดการค้นพบสิ่งใดด้วยค่ะ แอบเสียดายนิดหนึ่งที่ไม่ได้มีการเขียนต่อ อย่างไรก็ตามเป็นกำลังใจให้ค่ะ   อ่านน้อยลง

    สีน้ำเงินพายุ | 6 เม.ย. 54

    • 6

    • 0

    คำนิยมล่าสุด

    "Great one"

    (แจ้งลบ)

    ขอบคุณมากค่ะ ช่วยในการอ่านได้มากเลยทีเดียว อ่านควบคู่หนังสือได้เลยนะ เนื้อหาคล้ายๆเคมี ม.4-6 เล่มหนึ่งเลย แต่อันนี้มีรูปภาพให้เห็นและเนื้อหาอาจดูเหมือนน้อย แต่พออ่านจริงแล้วเนื้อหาเขาแน่นปึ้กเลยทีเดียวค่ะ เขียนข้อมูลได้ตรงประเด็น และ วิเคราห์ให้เห็นว่าการทดลองไหนทำให้เกิดการค้นพบสิ่งใดด้วยค่ะ แอบเสียดายนิดหนึ่งที่ไม่ได้ม ... อ่านเพิ่มเติม

    ขอบคุณมากค่ะ ช่วยในการอ่านได้มากเลยทีเดียว อ่านควบคู่หนังสือได้เลยนะ เนื้อหาคล้ายๆเคมี ม.4-6 เล่มหนึ่งเลย แต่อันนี้มีรูปภาพให้เห็นและเนื้อหาอาจดูเหมือนน้อย แต่พออ่านจริงแล้วเนื้อหาเขาแน่นปึ้กเลยทีเดียวค่ะ เขียนข้อมูลได้ตรงประเด็น และ วิเคราห์ให้เห็นว่าการทดลองไหนทำให้เกิดการค้นพบสิ่งใดด้วยค่ะ แอบเสียดายนิดหนึ่งที่ไม่ได้มีการเขียนต่อ อย่างไรก็ตามเป็นกำลังใจให้ค่ะ   อ่านน้อยลง

    สีน้ำเงินพายุ | 6 เม.ย. 54

    • 6

    • 0

    ความคิดเห็น