ลำดับตอนที่ #9
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #9 : เปิดรายชื่อผู้สมัครสมาชิกสภากทม.กับวิเคราะห์สนามเลือกตั้งและอนาคตทางการเมืองนับจากนี้
เลือกตั้ง สก. ครบทุกเขต(50 เขต 61 ที่นั่ง ) สข. 36 เขตที่เหลือ 256 ที่นั่ง
สำหรับรายชื่อผู้สมัคร ส.ก.มีดังนี้
เขตคลองเตย
1 พ.ต.ท.ขวัญชัย ชัยเวช กมม. 2 นายเจน หิมะทองคำ พท. 3 นางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา ปชป.
เขตคลองสาน
1 นายโกสินทร์ สุทธิรัตน์ พท. 2 นายสมชาย เต็มไพบูลย์กุล ปชป. 3 น.ส.สายรุ้ง ปิ่นโมรา กมม.
เขตคันนายาว
1 นายพลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ พท. 2 นายโยธิน ปัชฌามุก ปชป. 3 นายเกษม ทรัพย์เจริญ กมม.
เขตดินแดง
1 นายชวลิต เทียนเดช อิสระ 2 นายสิทธิวัฒน์ ชีรวินิจ ปชป. 3 นางอนงค์ เพชรทัต พท. 4 นางพิรญาณ์ ลัดดากลม กมม.
เขตดุสิต
1 นางบุศกร คงอุดม ปชป. 2 นายศิริพงษ์ ลิมปิชัย พท. 3 นายมนัส พงศ์วรินทร์ กมม.
เขตตลิ่งชัน
1 นายเป็นเลิศ จิรังนิมิตสกุล กมม. 2 พ.ต.ท.วันชัย ฟักเอี้ยง ปชป. 3 นายสมคิด ชุ่มปลั่ง พท.
เขตทวีวัฒนา
1 พ.ต.ท.หญิง อรุณศรี โสขุมา พท. 2 นายสุไหง แสวงสุข ปชป.
เขตทุ่งครุ
1 นายศิริพงษ์ เย็นอังกูร มภ. 2 นายวันชัย เปี่ยมสวัสดิ์ ปชป. 3 นายวิโรจน์ ญาณพิชิต กมม. 4 นายสุวรวิทย์ วรรณศิริกุล พท.
เขตธนบุรี
1 นาย สมเกียรติ กันทรวรากร ปชป. 2 นายสุวรรณ เอี่ยมสุขนันท์ กลุ่มคนธนบุรี 3 นายวิชัย หุตังคบดี พท. 4 นายสมชาย เอี่ยมมงคลสกุล กมม.
เขตบางกอกน้อย
1 นางปริษฐา วงศ์อากาศ พท. 2 นายนภาพล จีระกุล ปชป. 3 นายประสาร แก้วนิยม อิสระ 4 นายสันติ ระฆังทอง กมม.
เขตบางกอกใหญ่
1 นางทิพย์ประภา ศุขบุญ พท. 2 นายวิรัช คงคาเขตร ปชป.
เขตบางคอแหลม
1 นางจุฑาเพชร จินตโสภณ พท. 2 นายสมเกียรติ อโนทัยสินทวี กมม. 3 นายอภิมุข ฉันทวานิช ปชป.
เขตบางซื่อ
1 น.ส.พรพิมล คงอุดม ปชป. 2 น.ส.ภัคภร ตั้งปณิธานสุข พท.
เขตบางนา
1 นายกวีวงศ์ อยู่วิจิตร พท. 2 นายคำรณ บำรุงรักษ์ ปชป. 3 นายพัสกร พุฒขาว กมม.
เขตบางบอน
1 นายสมพร คงโครัด กมม. 2 นายเชาว์ สังข์คุ้ม พท. 3 นายณรงค์ศักดิ์ ม่วงศิริ ปชป.
เขตบางพลัด
1 นายมนูญ นกยูงทอง กมม. 2 นายคมสัน พันธุ์วิชาติกุล ปชป. 3 นายศีลธรรม พัชรประกาย กลุ่มคนทำงานเมือง 4 นายวัชรา พรหมเจริญ พท.
เขตบางรัก
1 นายพิพัฒน์ ลาภปรารถนา ปชป. 2 นายธานี บุปผเวส พท. 3 นายอภิชาติ อุดม กมม.
เขตบึงกุ่ม
1 นายกษิณ พุกรักษา พท. 2 นายแมน เจริญวัลย์ ปชป. 3 นายบุญส่ง ชเลธร กมม.
เขตปทุมวัน
1 น.ส.เมธาวี ธารดำรงค์ อิสระ 2 น.ส.อุไร อนันตสิน ปชป. 3 นายวิเชียรโชติ ส่งอาภากรณ์รัตน์ พท. 4 นายปฐม สุคนธชาติ กมม. 5 นายสุวิทย์ ทรัพย์เกตุโสภา อิสระ 6 นายภูมิพิชัย ธารดำรงค์ อิสระ
เขตป้อมปราบฯ
1 นายธนภัทร ธาตวากร กมม. 2 นายเอก จึงเลิศศิริ ปชป. 3 นางมาลี อุ่นมงคลมิตร พท.
เขตพญาไท
1 นายพีรพล กนกวลัย ปชป. 2 นายสุชาติ วิริยานุภาพพงศ์ กมม. 3 นายกวี ณ ลำปาง พท.
เขตพระโขนง
1 นายสมศักดิ์ รัตนกังวานวงศ์ พท. 2 นาย ตรีสิทธิ์ ศิริวรรณ ปชป.
เขตพระนคร
1 นายบดินทร์ วัชโรบล พท. 2 น.ส.กานต์กนิษฐ์ แห้วสันตติ ปชป. 3 นายรัชต์ชยุตม์ ศิรโยธินภักดี (อมรเทพ อมรรัตนานนท์)กมม. 4 นายพงษ์พจน์ พิมพ์สมฤดี อิสระ
เขตภาษีเจริญ
1 นายสุธา นิติภานนท์ ปชป. 2 นางสุภาภรณ์ คงวุฒิปัญญา พท. 3 น.ส.เพ็ญพิมล วิภาคทรัพย์ กมม.
เขตมีนบุรี
1 นายสุนันท์ มีนมณี ปชป. 2 นายวิรัตน์ มีนชัยนันท์ พท. 3 นายธนาวุฒิ วงษ์เสน กมม. 4 นายสุรชัย นิวาสพันธุ์ กลุ่มคนรักเมืองมีน
เขตยานนาวา
1 นายสมชาย มานะสิริจินดา อิสระ 2 นายอมรเทพ เศตะพราหณ์ ปชป. 3 นายณรงค์ กองปัญญา พท.
เขตราชเทวี
1 นางผุสดี วงศ์กำแหง ปชป. 2 นายปรเมษฐ์ ภู่โต กมม. 3 นายเอกกฤษ อุณหกานต์ พท.
เขตราษฎร์บูรณะ
1 นายสมพงษ์ สุวรรณคู กมม. 2 นายไสว โชติกะสุภา ปชป. 3 นายสุเมธี วรรณศิริกุล พท.
เขตลาดพร้าว
1 น.ส. บุณฑริกา ประสงค์ดี พท. 2 นายกษิดิ์เดช ชุติมันต์ ปชป. 3 นายปรีดา นักงาน กมม.
เขตวังทองหลาง
1 นายนัสเซอร์ ยีหมะ กมม. 2 นายบำรุง รัตนะ ปชป. 3 นายสิงห์ทอง บัวชุม พท.
เขตวัฒนา
1 นายประสิทธิ์ รักสลาม ปชป. 2 ว่าที่ ร.ต.นภดล เดชาฤทธิ์ กมม. 3 นายธนินท์พล ปิคิธนภูมิพัฒน์ พท.
เขตสวนหลวง
1 นายณัทวุฒิ หมัดนุรักษ์ ปชป. 2 นายคงเจษฎร์ พุ่มม่วง พท. 3 นายเนติราษฎร์ นาคโฉม กลุ่มศรัทธาธรรม
เขตสะพานสูง
1 นายสามารถ หว้าพิทักษ์ ปชป. 2 นายชเขษม ปจันทไทย กมม. 3 นายประสิทธิ์ มะหะหมัด พท. 4 นายปราโมทย์ บุญชู อิสระ
เขตสัมพันธวงศ์
1 นายปรีดา ปรัตถจริยา พท. 2 นายพินิจ กาญจนชูศักดิ์ ปชป. 3 นายสมหมาย ศรีสุทธิยางกูร กมม.
เขตสาทร
1 นางกรรณิกา วิชชุลตา กมม. 2 นายธวัชชัย ปิยนนทยา ปชป. 3 ไพรัชต์ พรรณรายน์ พท.
เขตหนองแขม
1 นายนวรัตน์ อยู่บำรุง พท. 2 นายฮารูบ มูหมัดอาลี กมม. 3 นายอภิเดช ศรัทธาพิริยะพงศ์ ปชป.
เขตหนองจอก
1 นายไพฑูรย์ อิสระเสรีพงษ์ พท. 2 น.ส.เบญญาภา เกษประดิษฐ์ ปชป. 3 นายวรรณภูมิ คำอ้อ กมม.
เขตหลักสี่
1 นายรังสรรค์ กียปัจจ์ ปชป. 2 นายตกานต์ สุนนทวุฒิ พท. 3 น.ส.เรณุมาศ อิศรภักดี อิสระ 4 นายศุภชัย เจียมสกุล กมม. 5 ว่าที่ร.ต.อมรวิวัฒน์ พิกุลงาม มภ.
เขตห้วยขวาง
1 นายประเดิมชัย บุญช่วยเหลือ พท. 2 นายประวิทย์ พรหมทอง ปชป. (3 นางพัชรพิมพ์ เสถบุตร กมม.)ไม่ได้ส่งลง
เขตจตุจักร เขต 1
1 นายประพันธ์ เนตรรังษี พท. 2 นายถนอม พิมพ์ใจชน กมม. 3 นายโยธิน เปาอินทร์ ปชป.
เขตจตุจักร เขต 2
1 น.ส.วิลาวัลย์ ธรรมชาติ พท. 2 นายประกิต จันทร์สมวงศ์ กมม. 3 นายอนันตชาติ บัวสุวรรณ์ ปชป.
เขตจอมทอง เขต 1
1 นายธวัชชัย ทองสิมา พท. 2 นายพิรกร วีรกุลสุนทร ปชป.
เขตจอมทอง เขต 2
1 นายธนวัฒน์ จันทร์เศรษฐ พท. 2 นายสุทธิชัย วีรกุลสุนทร ปชป.
เขตสายไหม เขต 1
1 นายเอกภาพ หงสกุล พท. 2 น.ส.รัตติกาล แก้วเกิดมี ปชป. 3 นายวัชรินทร์ อนันต์หน่อ อิสระ
เขตสายไหม เขต 2
1 นายอำนวย ชัยพรประเสริฐ พท. 2 นายสมชาย เวสารัชตระกูล ปชป.
เขตบางเขน เขต 1
1 สิบเอกอำพันธ์ เฉลิมบุญ ปชท. 2 นายฐิติโชค กาญจนภักดี ปชป. 3 นายสายันต์ จันทร์เหมือนเผือก พท.
เขตบางเขน เขต 2
1 น.ส.ปราณี เชื้อเกตุ ปชป. 2 นายณกรณ์ ทองศรี พท.
เขตบางแค เขต 1
1 นายสุพิน คล้ายนก ปชป. 2 พันตำรวจเอกสมชาย พงษ์ธานี พท. 3 นายพัลลภ นางจีนวงศ์ กมม.
เขตบางแค เขต 2
1 นายเพทาย จั่นเผื่อน ปชป. 2 นายนิรันด์ พรมจีน พท. 3 นายวิศิษฐ์ ดีเป็นธรรม กมม.
เขตบางกะปิ เขต 1
1 นายชัยวุฒิ จริยวิโรจน์สกุล พท. 2 นายประเสริฐ ทองนุ่น ปชป.
เขตบางกะปิ เขต 2
1 นายเฉลิมชัย ฉิมหิรัญ พท. 2 นางนฤมล รัตนาภิบาล ปชป. 3 นายภูโมกข์ นุ่นจันทร์ กมม.
เขตบางขุนเทียน เขต 1
1 นายสุพจน์ ภูมิใจตรง กลุ่มคนรักบางขุนเทียน 2 นายสมศักดิ์ ลีลาสถาพรกูล พท. 3 นาย สารัช ม่วงศิริ ปชป.
เขตบางขุนเทียน เขต 2
1 นายสหทัศน์ แก้วงาม อิสระ 2 นายสมชาติ รัตนเรืองกิต พท. 3 นายสาทร ม่วงศิริ ปชป. 4 นายนพดล อิศรเสนา ณ อยุธยา กลุ่มคนรักบางขุนเทียน
เขตประเวศ เขต 1
1 นายธีระวุฒิ สัมมาทรัพย์ พท. 2 นายธนวัฒน์ เชิดชูกิจกุล ปชป.
เขตประเวศ เขต 2
1 นายธวัช กีรติอิสริยะกุล อิสระ 2 นายกิตพล เชิดชูกิจกุล ปชป. 3 นายพารวย จันทรสกุล พท.
เขตคลองสามวา เขต 1
1 นายวิรัช อินช่วย ปชป. 2 นายสุวิทย์ บุญมา พท. 3 นายวิบูลย์ศักดิ์ หนันดี อิสระ
เขตคลองสามวา เขต 2
1 นายชูชาติ ประเสริฐกรรณ ปชป. 2 นายลี่จั๊ว แซ่เฮ้ง พท.
เขตดอนเมือง เขต 1
1 นายธนกร พูลมี อิสระ 2 นายธนัชพงศ์ เกิดนาค กมม. 3 นายพฤกพงษ์ เปรมศิริ ปชป. 4 นายสุริยา โหสกุล พท. 5 นางประภาวรินทร์ กลิ่นฟุ้ง กลุ่มรักดอนเมือง
เขตดอนเมือง เขต 2
1 นางกนกนุช นากสุวรรณ ปชป. 2 นายชุติเดช สุวรรณเกิด กมม. 3 นางอัมพร โสภณดิเรกรัตน์ กลุ่มคนดอนเมืองรุ่นใหม่ 4 นางพิมพ์ชนา โหสกุล พท. 5 นายศิวาวิทย์ สำเร็จผล อิสระ
เขตลาดกระบัง เขต 1
1 นายวิสูตร สำเร็จวาณิชย์ พท. 2 นายสมโภชน์ ชยุติแสงไพศาล ปชป. 3 นายธนยศ เกษประดิษฐ อิสระ
เขตลาดกระบัง เขต 2
1 นายณัฐ สำเร็จวาณิชย์ พท. 2 นายอำนวย นวลทอง กมม. 3 นายเจริญณรัฐ ศิริรัตนสุวรรณ ปชป.
(ข้อมูลมติชน)รายชื่ออัพเดตถึงวันที่4ของการสมัคร
โดยภายหลังปิดรับสมัครผู้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) และ สมาชิกสภาเขต (ส.ข.) ในวันสุดท้าย ปรากฏว่า ส.ก.มีผู้มาสมัครทั้งสิ้น 189 คน แบ่งเป็น ผู้สมัครจากพรรคประชาธิปัตย์ และพรรคเพื่อไทย พรรคละ 61 คน พรรคการเมืองใหม่ 40 คน พรรคประชากรไทย 1 คน พรรคมาตุภูมิ 2 คน ไม่สังกัดพรรคการเมือง 16 คน ได้แก่ กลุ่มคนรักบางขุนเทียน 2 คน , กลุ่มดอนเมืองคนรุ่นใหม่ , กลุ่มคนทำงานเมือง , กลุ่มคนธนบุรี , กลุ่มรักษ์ดอนเมือง , กลุ่มคนรักเมืองมีน และกลุ่มศรัทธาธรรม กลุ่มละ 1 คน
สำหรับ ส.ข.รวมผู้สมัครทั้งสิ้น 726 คน แบ่งเป็นผู้สมัครจากพรรคประชาธิปัตย์ 251 คน พรรคเพื่อไทย 256 คน พรรคการเมืองใหม่ 157 คน พรรคมาตุภูมิ 7 คน ไม่สังกัดพรรคการเมือง 25 คน กลุ่มคนธนบุรี กลุ่มคนทำงานเมือง กลุ่มปทุมวันก้าวหน้ากลุ่มละ 7 คน กลุ่มดวงใจแดง 5 คน และกลุ่มคนรักหนองจอก 4 คน
โดยเขตที่พรรคการเมืองใหม่ไม่ได้ส่งผู้สมัครลงก็มี เขตทวีวัฒนา บางกอกใหญ่ บางซื่อ พระโขนง ยานนาวา สวนหลวง ที่มี1เขตเลือกตั้ง จอมทอง สายไหม บางเขน บางกะปิ บางขุนเทียน ประเวศ คลองสามวา ทั้ง2เขตเลือกตั้ง และ ลาดกระบัง เขต1
สภากรุงเทพมหานคร (ตัวย่อ: ส.ก.) เป็นองค์กรนิติบัญญัติของกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบและดูแลการบริหารราชการกรุงเทพมหานครของฝ่ายบริหารอันมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นหัวหน้าคณะฯ ประธานสภากรุงเทพมหานครคนปัจจุบัน คือ นายธวัชชัย ปิยนนทยา ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549
โครงสร้างการบริหารราชการกรุงเทพมหานครที่สำคัญ ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานคร ซึ่งมีสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร จำนวน 57 คน ที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชนชาวกรุงเทพมหานครที่มีสิทธิเลือกตั้ง จาก 50 เขต มีวาระในการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี และทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการสามัญประจำสภากรุงเทพมหานคร อันเป็นตัวแทนภาระหน้าที่รับผิดชอบของสภากรุงเทพมหานคร จำนวน 11 คณะ ได้แก่
คณะกรรมการตรวจรายงานการประชุมและพิจารณาเปิดเผยรายงานการประชุมลับ
คณะกรรมการการศึกษาและวัฒนธรรม
คณะกรรมการการโยธาและผังเมือง
คณะกรรมการการสาธารณสุข
คณะกรรมการการรักษาความสะอาดและสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการการเศรษฐกิจ การเงิน การคลังและติดตามงบประมาณ
คณะกรรมการการปกครองและรักษาความสงบเรียบร้อย
คณะกรรมการการพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม
คณะกรรมการกิจการสภากรุงเทพมหานคร
คณะกรรมการการจราจร ขนส่ง และการระบายน้ำ
คณะกรรมการการท่องเที่ยวและการกีฬา
ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร มีจำนวนทั้งสิ้น 61 คน โดยเริ่มจากการเลือกตั้ง ส.ก.ส.ข.ในวันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เนื่องจากมีเขตทั้งหมด 5 เขตมีประชากรมากขึ้น ได้แก่ เขตบางขุนเทียน, เขตลาดกระบัง, เขตประเวศ, เขตคลองสามวา, เขตบางกะปิ โดยเขตที่มีสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ได้มากกว่า 1 คน จะต้องเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากกว่า 150,000 คน ซึ่งปัจจุบันมีทั้งหมด 11 เขตที่จะมีสมาชิกสภากรุงเทพมหานครได้มากกว่า 1 คน คือ 2 คน ได้แก่ เขตบางเขน, เขตจตุจักร, เขตสวนหลวง, เขตดอนเมือง, เขตสายไหม, เขตลาดกระบัง, เขตคลองสามวา, เขตประเวศ, เขตจอมทอง, เขตบางแค, เขตบางขุนเทียน
จากนี้ไปจะเป็นวิเคราะห์การเลือกตั้งโดยกรรมกรเอง
ถ้าพิจารณาดูผลการเลือกตั้งสส.ตั้งแต่ปี2544เป็นต้นมา คะแนนการเลือกตั้งมักจะผูกขาดอยู่แค่พรรคประชาธิปัตย์(กะจั๊ว)และพรรคเพื่อไทย(ซึ่งเป็นพรรคตัวแทนแม้วมาตั้งแต่ไทยรักไทยและพลังประชาชนเดิม)เรื่อยมาโดยแทบจะไม่เคยแบ่งคะแนนให้กับพรรคอื่นเกินกว่าหมื่นคะแนนได้เลย
โดยมีเพียงแค่ร.ต.อ.ดร.นิติภูมิ นวรัตน์ ที่ลงในนามพรรคเพื่อแผ่นดินเท่านั้นที่สามารถแย่งคะแนนมาได้ถึง2หมื่นคะแนน นอกนั้นก็ไม่เคยมีใครในสังกัดพรรคอื่นสามารถทำคะแนนได้ถึงขนาดนี้อีกเลย
และการเลือกตั้งผู้ว่ากทม.วาระตั้งแต่2547เป็นต้นมา กะจั๊วซึ่งได้นักการตลาดประชาสัมพันธ์หนุ่มมือดี หล่อและพูดจาเก่งอย่างอภิรักษ์ โกษะโยธินก็กวาดคะแนนได้มากถึง7-9แสนคะแนนขึ้นเรื่อยมาจนถึงม.ร.ว.สุขุมพันธ์ บริพัตร โดยพรรคตัวแทนแม้วที่มี ประภัสร์ จงสงวนและ ยุรนันท์ ภมรมนตรี ทำได้แค่5แสนกว่าเท่านั้น นอกนั้นก็เป็นของผู้สมัครอิสระที่ไม่ขึ้นกับพรรคกะจั๊วและตัวแทนแม้วโดยคะแนนที่ได้ขึ้นอยู่กับความนิยมในตัวผู้สมัครคนนั้นๆเองเป็นรายๆไป รวมแล้วประมาณ4-5แสนคะแนนด้วยกันซึ่งคะแนนที่ชูวิทย์ กมลวิศิษฐ์ และ ม.ล.ณัฏฐกรณ์ เทวกุล ทำไว้ที่2-3แสนคะแนนนั้นปฏิเสธไม่ได้ว่ามาจากสายของม็อบแดงที่ไม่ใช่แฟนคลับแม้ว
ส่วนสนามเลือกตั้งสก.นั้นผู้สมัครในนามอิสระที่สามารถฟันฝ่าผู้สมัครจากพรรคใหญ่จนได้รับเลือกตั้งเข้ามาได้มีอยู่ไม่กี่เขตดังนี้
- สองพี่น้อง พรพิมลและศตกร คงอุดม อดีตสก.แห่งกลุ่มคนบางซื่อ ลูกสาวของนายชัชวาลย์ คงอุดม เจ้าของหนังสือสยามรัฐ เจ้าพ่อแห่งเตาปูน
- เรณุมาศ อิศรภักดี อดีตสก.หลักสี่ พี่สาวของศุภมาศ อิศรภักดี อดีตสส.หลักสี่ สังกัดไทยรักไทยเก่า ซึ่งปัจจุบันย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทยของนายห้อย เนวิน
- นวรัตน์ อยู่บำรุง อดีตสก.หนองแขม น้องชายของ ร.ต.อ.ดร.เฉลิม อยู่บำรุง
นอกนั้นที่นั่งสก.ตกเป็นของผู้สมัครจากพรรคใหญ่ทั้ง2พรรคทั้งหมด โดยคะแนนนั้นทิ้งห่างกันตั้งแต่หลักร้อยไปจนถึงหลักหมื่น ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของฐานเสียงในแต่ละเขตของตัวพรรคเอง
โดยพรรคกะจั๊วมีฐานเสียงที่เรียกมาใช้งานได้แน่นอนครอบคลุมและหนาแน่นกว่า
บรรดาผู้สมัครของ2พรรคใหญ่ที่เปิดหน้ากันมาโดยเฉพาะพรรคกะจั๊วได้อดีตสก.ที่ย้ายจากไทยรักไทยเก่าเข้ามาอันได้อดีตสก.จากเขตบางนา,ตลิ่งชัน,บางขุนเทียน,บางบอนและดอนเมือง กับอดีตสก.สองพี่น้องแห่งกลุ่มคนบางซื่อ ในขณะที่พรรคตัวแทนแม้วได้เพียงแค่อดีตสก.หนองแขมมาเข้าสังกัด ยิ่งทำให้ได้เปรียบพรรคตัวแทนแม้วมากขึ้นไปอีก รวมกับกระแสสีขี้และสลิ่มครองเมืองที่เสพแต่สื่อกระแสหลักเน่าๆและดูถูกดูหมิ่นม็อบแดงโดยไม่สนใจข้อเท็จจริงที่ถูกรัฐบาลพรรคกะจั๊ว,พรรคนายห้อย,กองทัพ,ผู้อาวุโสมากบารมี,ข้ารับใช้และสื่อกระแสหลักเน่าๆได้หมกเม็ดเอาไว้
ที่ผ่านมามีการชุมนุมของม็อบ2ขั้วการเมืองอันได้แก่สีขี้(เหลือง) และสีแดง แต่เมื่อไม่นานมานี่ก็มีม็อบสีใหม่เกิดขึ้นนั้นก็คือสลิ่ม(หลากสี)
โดยสีขี้และสลิ่มมีจุดยืนที่ชัดเจนก็คือไม่เอาพรรคตัวแทนแม้ว ฉะนั้นพรรคที่จะเป็นทางเลือกในการเอาชนะพรรคตัวแทนแม้วได้ดีที่สุดกหนีไม่พ้นพรรคกะจั๊ว และนั้นก็เลยทำให้พรรคกะจั๊วสามารถเอาชนะการเลือกตั้งสส.ในกทม.เมื่อปี2550ได้สำเร็จ ดังนั้นจึงปฏิเสธไม่ได้ว่าพรรคกะจั๊วมีวันนี้ได้ก็เพราะม็อบสีขี้โดยแท้
โดยปกติถ้าการเลือกตั้งมีตัวเลือกแค่2พรรคนี้ละก็ ผมก็คงจะไม่ตื่นเต้นอะไรและคิดว่ายังไงซะพรรคกะจั๊วก็คงจะครองที่นั่งสก.ได้เป็นกอบเป็นกำอยู่แล้ว ไม่ต้องไปลุ้นอะไรมาก
แต่ทว่าวันนี้เมื่อฝั่งสีขี้ได้ตั้งพรรคการเมืองของตัวเองในนาม การเมืองใหม่ ลงสนามการเมืองนี่จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าพรรคนี้จะต้องแย่งฐานคะแนนเสียงของพรรคกะจั๊วมาได้อย่างมีนัยสำคัญแน่นอน ในขณะที่ฐานคะแนนเสียงม็อบสีแดงของพรรคตัวแทนแม้วก็คงไม่ไหลไปไหนแน่นอนต่อให้มีกลุ่มอิสระหรือพรรคเล็กลงแข่งสู้ด้วยก็ตามที
ซึ่งในการเลือกตั้งสก.คราวนี้พรรคสีขี้ได้ส่งผู้สมัครสก.ลงแข่งขันมากถึง40เขตจากทั้งหมด61เขตเลือกตั้งด้วยกัน โดยสีขี้มีตัวเต็งอันดับ1ก็คือ นส.สายรุ้ง ปิ่นโมรา อดีตสก.คลองสานที่ย้ายมาจากพรรคกะจั๊วลงแข่งขัน
การลงสนามเลือกตั้งสก.ของพรรคสีขี้ครั้งนี้ จะเป็นบทพิสูจน์ชี้เป็นชี้ตายของพรรคนี้ว่าอนาคตทางการเมืองของพรรคสีขี้จะเป็นไปในทิศทางไหนโดยดูจากผลคะแนนเลือกตั้งที่ออกมาไม่ว่าจะแพ้หรือชนะก็ตาม
ถ้าผลคะแนนที่ออกมาแต่ละเขตมากกว่า3-4พันคะแนนขึ้นไปจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสมดุลผลคะแนนเลือกตั้งของ2พรรคใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพรรคกะจั๊วซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่ามีฐานคะแนนเดียวกันกับพรรคสีขี้จะต้องถูกแย่งคะแนนของตัวเองไปอย่างช่วยไม่ได้ นั้นอาจทำให้พรรคตัวแทนแม้วมีกำลังใจฮึกเหิมในการต่อสู้เพื่อคว้าชัยชนะในการเลือกตั้งสก.ครั้งนี้อย่างถึงที่สุด ซึ่งผมไม่ขอคาดหวังว่าพรรคตัวแทนแม้วจะได้ที่นั่งสก.คราวนี้มาได้แค่ไหนกัน
นอกจากนี้ยังทำให้พรรคสีขี้มีกำลังใจฮึกเหิมอย่างยิ่งยวดในการต่อสู้เพื่อแย่งชิงที่นั่งสส.ในกทม.ทั้งระบบเขตและสัดส่วนในการเลือกตั้งใหญ่ครั้งต่อไป และจะทำให้พรรคกะจั๊วต้องประสบกับความยากลำบากมากขึ้นในการรักษาที่นั่งสส.ของตัวเองในกทม.ต่อไปอย่างเลี่ยงไม่ได้ การเลือกตั้งจะดูสนุกสนานและมีรสชาติมากยิ่งขึ้นไปอีกจากการที่มีตัวเลือกให้มากขึ้นถึง3ตัวเลือกจากเดิมที่มีเพียงแค่2ตัวเลือกเท่านั้น
แต่ถ้าผลคะแนนออกมาแต่ละเขตได้มาแค่หลักร้อยไม่ถึงหลักพัน นั้นหมายความว่าพรรคสีขี้ก็จะมีสภาพไม่ได้ต่างอะไรกับพรรคเล็กไม้ประดับที่ลงสนามการเมืองกทม.ให้สองพรรคใหญ่เขาขยี้กันเล่นๆเท่านั้นเอง
แสดงให้เห็นถึงความสูญเปล่าของการชุมนุมที่ผ่านมาของม็อบสีขี้มีเส้นที่คาดหวังว่าการชุมนุมทางการเมืองของตนจะได้รับความนิยมในหมู่แฟนคลับชนชั้นสูงและชนชั้นกลางคลั่งเจ้าดัดจริตซึ่งมีอยู่มากมาย และนั้นอาจเป็นปัจจัยให้พรรคสีขี้ต้องเร่งสร้างฐานคะแนนนิยมของตัวเองโดยแย่งมาจากพรรคกะจั๊วจากเดิมที่เคยโจมตีแค่พรรคหรือบุคคลที่เป็นตัวแทนแม้วเพื่อเอาฐานเสียงจากฝั่งนั้นมาให้จงได้
โดยการใช้สื่ออย่างหมาเนเจ๋อโจมตีการทำงานของพรรคกะจั๊วอย่างหนัก ซึ่งเดิมพรรคนี้ก็มีกรณีทุจริตและความชั่วช้าในการสลายการชุมนุมที่พรรคตัวแทนแม้วขุดขึ้นมาแฉและอภิปรายทางสื่อกระแสรองและInternet โดยพรรคกะจั๊วแม้จะมีสื่อกระแสหลักคอยช่วยเหลืออย่างมากมายโดยเฉพาะเครือเนชั่(ว)น ก็คงจะช่วยอะไรไม่ได้มากแถมยังมีคดีเงินบริจาค258ล้านกับเงินกองทุนเข้าพรรคการเมือง29ล้านจ่อคอหอยเข้าไปอีก แน่นอนว่าพรรคสีขี้น่าจะหันมาเล่นประเด็นนี้อย่างหนักและใช้เส้นสายที่มีตนมีอยู่อย่างมากมายผ่านชนชั้นสูงและอำนาจมืดนอกระบบเพื่อยุบพรรคกะจั๊วและตัดสิทธิ์กรรมการบริหารพรรคเป็นเวลา5ปีอย่างแน่นอนที่สุดเพื่อหวังแยกสลายกลุ่มตัวเด่นๆของกะจั๊วให้แตกแยกออกไปให้ได้มากที่สุดแบบกรณียุบพรรคใหญ่ที่เกิดขึ้นมาก่อนแล้วและบรรดาสส.เก่าที่แยกตัวไปตั้งพรรคใหม่ของตัวเองทรยศต่อมติพรรคใหญ่ที่ตนสังกัด ขึ้นอยู่กับสัมพันธ์ระหว่างสส.ในพรรคด้วยกันโดยเฉพาะภาคใต้และกทม.ซึ่งเป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดจะยังเหนียวแน่นไปด้วยผลประโยชน์ร่วมกันได้หรือไม่
แต่สิ่งที่ผมพูดมานี่จะเกิดขึ้นจริงๆหรือไม่ ต้องมาดูกันว่าอำนาจมืดนอกระบบจะตัดสินใจทำลายพรรคกะจั๊วโดยการยุบพรรคและตัดสิทธิ์นักการเมืองตามสำนวนเสร็จนาฆ่าโคถึกเสร็จศึกฆ่าขุนพลหรือไม่ พร้อมๆกับสร้างสูญญากาศทางการเมืองที่ประเทศไม่มีรักษาการณ์นายกฯ เปิดช่องให้มีการแก้รัฐธรรมนูญบางมาตราเพื่อตั้งรัฐบาลแห่งชาติไปพร้อมๆกับหาเหตุยืดเวลาการเลือกตั้งออกไปซึ่งนั้นก็ยิ่งสร้างความวุ่นวายในประเทศทับถมขึ้นไปอีก หรือถ้ายืดไปได้จนสภาหมดวาระก็มีความเป็นไปได้ที่กองทัพภายใต้การนำในสายบูรพาพยัคฆ์จอมอำมหิตสลายม็อบแดง ไว้ใจไม่ได้เลยที่จะก่อการรัฐประหารยึดอำนาจฉีกรัฐธรรมนูญขึ้นมาอีกครั้ง นั้นก็หนีไม่พ้นเหตุนองเลือดเมษาพฤษภาอำมหิตรอบใหม่ขึ้นมาอย่างแน่นอน เพราะเหตุผลและวาทกรรมเดิมๆอย่างการคอรับชั่น,ก่อการร้ายและล้มเจ้าจะใช้ไม่ได้ผลอีกต่อไป
หรือจะพยายามหาเหตุและช่องว่างของรัฐธรรมนูญอย่างตื้นเขิน เพื่อหวังปล่อยให้พรรคนี้รอดจากการถูกยุบทั้ง2คดี ประจานพฤติกรรมสองมาตรฐานให้เป็นที่อับอายสร้างความแตกแยกร้าวลึกเพิ่มขึ้นในประเทศต่อไปตราบจนสภาหมดวาระ เพื่อหวังจะไม่ให้พรรคตัวแทนแม้วใช้โอกาสนี้กลับมาคืนชีพอีกครั้ง
สำหรับรายชื่อผู้สมัคร ส.ก.มีดังนี้
เขตคลองเตย
1 พ.ต.ท.ขวัญชัย ชัยเวช กมม. 2 นายเจน หิมะทองคำ พท. 3 นางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา ปชป.
เขตคลองสาน
1 นายโกสินทร์ สุทธิรัตน์ พท. 2 นายสมชาย เต็มไพบูลย์กุล ปชป. 3 น.ส.สายรุ้ง ปิ่นโมรา กมม.
เขตคันนายาว
1 นายพลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ พท. 2 นายโยธิน ปัชฌามุก ปชป. 3 นายเกษม ทรัพย์เจริญ กมม.
เขตดินแดง
1 นายชวลิต เทียนเดช อิสระ 2 นายสิทธิวัฒน์ ชีรวินิจ ปชป. 3 นางอนงค์ เพชรทัต พท. 4 นางพิรญาณ์ ลัดดากลม กมม.
เขตดุสิต
1 นางบุศกร คงอุดม ปชป. 2 นายศิริพงษ์ ลิมปิชัย พท. 3 นายมนัส พงศ์วรินทร์ กมม.
เขตตลิ่งชัน
1 นายเป็นเลิศ จิรังนิมิตสกุล กมม. 2 พ.ต.ท.วันชัย ฟักเอี้ยง ปชป. 3 นายสมคิด ชุ่มปลั่ง พท.
เขตทวีวัฒนา
1 พ.ต.ท.หญิง อรุณศรี โสขุมา พท. 2 นายสุไหง แสวงสุข ปชป.
เขตทุ่งครุ
1 นายศิริพงษ์ เย็นอังกูร มภ. 2 นายวันชัย เปี่ยมสวัสดิ์ ปชป. 3 นายวิโรจน์ ญาณพิชิต กมม. 4 นายสุวรวิทย์ วรรณศิริกุล พท.
เขตธนบุรี
1 นาย สมเกียรติ กันทรวรากร ปชป. 2 นายสุวรรณ เอี่ยมสุขนันท์ กลุ่มคนธนบุรี 3 นายวิชัย หุตังคบดี พท. 4 นายสมชาย เอี่ยมมงคลสกุล กมม.
เขตบางกอกน้อย
1 นางปริษฐา วงศ์อากาศ พท. 2 นายนภาพล จีระกุล ปชป. 3 นายประสาร แก้วนิยม อิสระ 4 นายสันติ ระฆังทอง กมม.
เขตบางกอกใหญ่
1 นางทิพย์ประภา ศุขบุญ พท. 2 นายวิรัช คงคาเขตร ปชป.
เขตบางคอแหลม
1 นางจุฑาเพชร จินตโสภณ พท. 2 นายสมเกียรติ อโนทัยสินทวี กมม. 3 นายอภิมุข ฉันทวานิช ปชป.
เขตบางซื่อ
1 น.ส.พรพิมล คงอุดม ปชป. 2 น.ส.ภัคภร ตั้งปณิธานสุข พท.
เขตบางนา
1 นายกวีวงศ์ อยู่วิจิตร พท. 2 นายคำรณ บำรุงรักษ์ ปชป. 3 นายพัสกร พุฒขาว กมม.
เขตบางบอน
1 นายสมพร คงโครัด กมม. 2 นายเชาว์ สังข์คุ้ม พท. 3 นายณรงค์ศักดิ์ ม่วงศิริ ปชป.
เขตบางพลัด
1 นายมนูญ นกยูงทอง กมม. 2 นายคมสัน พันธุ์วิชาติกุล ปชป. 3 นายศีลธรรม พัชรประกาย กลุ่มคนทำงานเมือง 4 นายวัชรา พรหมเจริญ พท.
เขตบางรัก
1 นายพิพัฒน์ ลาภปรารถนา ปชป. 2 นายธานี บุปผเวส พท. 3 นายอภิชาติ อุดม กมม.
เขตบึงกุ่ม
1 นายกษิณ พุกรักษา พท. 2 นายแมน เจริญวัลย์ ปชป. 3 นายบุญส่ง ชเลธร กมม.
เขตปทุมวัน
1 น.ส.เมธาวี ธารดำรงค์ อิสระ 2 น.ส.อุไร อนันตสิน ปชป. 3 นายวิเชียรโชติ ส่งอาภากรณ์รัตน์ พท. 4 นายปฐม สุคนธชาติ กมม. 5 นายสุวิทย์ ทรัพย์เกตุโสภา อิสระ 6 นายภูมิพิชัย ธารดำรงค์ อิสระ
เขตป้อมปราบฯ
1 นายธนภัทร ธาตวากร กมม. 2 นายเอก จึงเลิศศิริ ปชป. 3 นางมาลี อุ่นมงคลมิตร พท.
เขตพญาไท
1 นายพีรพล กนกวลัย ปชป. 2 นายสุชาติ วิริยานุภาพพงศ์ กมม. 3 นายกวี ณ ลำปาง พท.
เขตพระโขนง
1 นายสมศักดิ์ รัตนกังวานวงศ์ พท. 2 นาย ตรีสิทธิ์ ศิริวรรณ ปชป.
เขตพระนคร
1 นายบดินทร์ วัชโรบล พท. 2 น.ส.กานต์กนิษฐ์ แห้วสันตติ ปชป. 3 นายรัชต์ชยุตม์ ศิรโยธินภักดี (อมรเทพ อมรรัตนานนท์)กมม. 4 นายพงษ์พจน์ พิมพ์สมฤดี อิสระ
เขตภาษีเจริญ
1 นายสุธา นิติภานนท์ ปชป. 2 นางสุภาภรณ์ คงวุฒิปัญญา พท. 3 น.ส.เพ็ญพิมล วิภาคทรัพย์ กมม.
เขตมีนบุรี
1 นายสุนันท์ มีนมณี ปชป. 2 นายวิรัตน์ มีนชัยนันท์ พท. 3 นายธนาวุฒิ วงษ์เสน กมม. 4 นายสุรชัย นิวาสพันธุ์ กลุ่มคนรักเมืองมีน
เขตยานนาวา
1 นายสมชาย มานะสิริจินดา อิสระ 2 นายอมรเทพ เศตะพราหณ์ ปชป. 3 นายณรงค์ กองปัญญา พท.
เขตราชเทวี
1 นางผุสดี วงศ์กำแหง ปชป. 2 นายปรเมษฐ์ ภู่โต กมม. 3 นายเอกกฤษ อุณหกานต์ พท.
เขตราษฎร์บูรณะ
1 นายสมพงษ์ สุวรรณคู กมม. 2 นายไสว โชติกะสุภา ปชป. 3 นายสุเมธี วรรณศิริกุล พท.
เขตลาดพร้าว
1 น.ส. บุณฑริกา ประสงค์ดี พท. 2 นายกษิดิ์เดช ชุติมันต์ ปชป. 3 นายปรีดา นักงาน กมม.
เขตวังทองหลาง
1 นายนัสเซอร์ ยีหมะ กมม. 2 นายบำรุง รัตนะ ปชป. 3 นายสิงห์ทอง บัวชุม พท.
เขตวัฒนา
1 นายประสิทธิ์ รักสลาม ปชป. 2 ว่าที่ ร.ต.นภดล เดชาฤทธิ์ กมม. 3 นายธนินท์พล ปิคิธนภูมิพัฒน์ พท.
เขตสวนหลวง
1 นายณัทวุฒิ หมัดนุรักษ์ ปชป. 2 นายคงเจษฎร์ พุ่มม่วง พท. 3 นายเนติราษฎร์ นาคโฉม กลุ่มศรัทธาธรรม
เขตสะพานสูง
1 นายสามารถ หว้าพิทักษ์ ปชป. 2 นายชเขษม ปจันทไทย กมม. 3 นายประสิทธิ์ มะหะหมัด พท. 4 นายปราโมทย์ บุญชู อิสระ
เขตสัมพันธวงศ์
1 นายปรีดา ปรัตถจริยา พท. 2 นายพินิจ กาญจนชูศักดิ์ ปชป. 3 นายสมหมาย ศรีสุทธิยางกูร กมม.
เขตสาทร
1 นางกรรณิกา วิชชุลตา กมม. 2 นายธวัชชัย ปิยนนทยา ปชป. 3 ไพรัชต์ พรรณรายน์ พท.
เขตหนองแขม
1 นายนวรัตน์ อยู่บำรุง พท. 2 นายฮารูบ มูหมัดอาลี กมม. 3 นายอภิเดช ศรัทธาพิริยะพงศ์ ปชป.
เขตหนองจอก
1 นายไพฑูรย์ อิสระเสรีพงษ์ พท. 2 น.ส.เบญญาภา เกษประดิษฐ์ ปชป. 3 นายวรรณภูมิ คำอ้อ กมม.
เขตหลักสี่
1 นายรังสรรค์ กียปัจจ์ ปชป. 2 นายตกานต์ สุนนทวุฒิ พท. 3 น.ส.เรณุมาศ อิศรภักดี อิสระ 4 นายศุภชัย เจียมสกุล กมม. 5 ว่าที่ร.ต.อมรวิวัฒน์ พิกุลงาม มภ.
เขตห้วยขวาง
1 นายประเดิมชัย บุญช่วยเหลือ พท. 2 นายประวิทย์ พรหมทอง ปชป. (3 นางพัชรพิมพ์ เสถบุตร กมม.)ไม่ได้ส่งลง
เขตจตุจักร เขต 1
1 นายประพันธ์ เนตรรังษี พท. 2 นายถนอม พิมพ์ใจชน กมม. 3 นายโยธิน เปาอินทร์ ปชป.
เขตจตุจักร เขต 2
1 น.ส.วิลาวัลย์ ธรรมชาติ พท. 2 นายประกิต จันทร์สมวงศ์ กมม. 3 นายอนันตชาติ บัวสุวรรณ์ ปชป.
เขตจอมทอง เขต 1
1 นายธวัชชัย ทองสิมา พท. 2 นายพิรกร วีรกุลสุนทร ปชป.
เขตจอมทอง เขต 2
1 นายธนวัฒน์ จันทร์เศรษฐ พท. 2 นายสุทธิชัย วีรกุลสุนทร ปชป.
เขตสายไหม เขต 1
1 นายเอกภาพ หงสกุล พท. 2 น.ส.รัตติกาล แก้วเกิดมี ปชป. 3 นายวัชรินทร์ อนันต์หน่อ อิสระ
เขตสายไหม เขต 2
1 นายอำนวย ชัยพรประเสริฐ พท. 2 นายสมชาย เวสารัชตระกูล ปชป.
เขตบางเขน เขต 1
1 สิบเอกอำพันธ์ เฉลิมบุญ ปชท. 2 นายฐิติโชค กาญจนภักดี ปชป. 3 นายสายันต์ จันทร์เหมือนเผือก พท.
เขตบางเขน เขต 2
1 น.ส.ปราณี เชื้อเกตุ ปชป. 2 นายณกรณ์ ทองศรี พท.
เขตบางแค เขต 1
1 นายสุพิน คล้ายนก ปชป. 2 พันตำรวจเอกสมชาย พงษ์ธานี พท. 3 นายพัลลภ นางจีนวงศ์ กมม.
เขตบางแค เขต 2
1 นายเพทาย จั่นเผื่อน ปชป. 2 นายนิรันด์ พรมจีน พท. 3 นายวิศิษฐ์ ดีเป็นธรรม กมม.
เขตบางกะปิ เขต 1
1 นายชัยวุฒิ จริยวิโรจน์สกุล พท. 2 นายประเสริฐ ทองนุ่น ปชป.
เขตบางกะปิ เขต 2
1 นายเฉลิมชัย ฉิมหิรัญ พท. 2 นางนฤมล รัตนาภิบาล ปชป. 3 นายภูโมกข์ นุ่นจันทร์ กมม.
เขตบางขุนเทียน เขต 1
1 นายสุพจน์ ภูมิใจตรง กลุ่มคนรักบางขุนเทียน 2 นายสมศักดิ์ ลีลาสถาพรกูล พท. 3 นาย สารัช ม่วงศิริ ปชป.
เขตบางขุนเทียน เขต 2
1 นายสหทัศน์ แก้วงาม อิสระ 2 นายสมชาติ รัตนเรืองกิต พท. 3 นายสาทร ม่วงศิริ ปชป. 4 นายนพดล อิศรเสนา ณ อยุธยา กลุ่มคนรักบางขุนเทียน
เขตประเวศ เขต 1
1 นายธีระวุฒิ สัมมาทรัพย์ พท. 2 นายธนวัฒน์ เชิดชูกิจกุล ปชป.
เขตประเวศ เขต 2
1 นายธวัช กีรติอิสริยะกุล อิสระ 2 นายกิตพล เชิดชูกิจกุล ปชป. 3 นายพารวย จันทรสกุล พท.
เขตคลองสามวา เขต 1
1 นายวิรัช อินช่วย ปชป. 2 นายสุวิทย์ บุญมา พท. 3 นายวิบูลย์ศักดิ์ หนันดี อิสระ
เขตคลองสามวา เขต 2
1 นายชูชาติ ประเสริฐกรรณ ปชป. 2 นายลี่จั๊ว แซ่เฮ้ง พท.
เขตดอนเมือง เขต 1
1 นายธนกร พูลมี อิสระ 2 นายธนัชพงศ์ เกิดนาค กมม. 3 นายพฤกพงษ์ เปรมศิริ ปชป. 4 นายสุริยา โหสกุล พท. 5 นางประภาวรินทร์ กลิ่นฟุ้ง กลุ่มรักดอนเมือง
เขตดอนเมือง เขต 2
1 นางกนกนุช นากสุวรรณ ปชป. 2 นายชุติเดช สุวรรณเกิด กมม. 3 นางอัมพร โสภณดิเรกรัตน์ กลุ่มคนดอนเมืองรุ่นใหม่ 4 นางพิมพ์ชนา โหสกุล พท. 5 นายศิวาวิทย์ สำเร็จผล อิสระ
เขตลาดกระบัง เขต 1
1 นายวิสูตร สำเร็จวาณิชย์ พท. 2 นายสมโภชน์ ชยุติแสงไพศาล ปชป. 3 นายธนยศ เกษประดิษฐ อิสระ
เขตลาดกระบัง เขต 2
1 นายณัฐ สำเร็จวาณิชย์ พท. 2 นายอำนวย นวลทอง กมม. 3 นายเจริญณรัฐ ศิริรัตนสุวรรณ ปชป.
(ข้อมูลมติชน)รายชื่ออัพเดตถึงวันที่4ของการสมัคร
โดยภายหลังปิดรับสมัครผู้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) และ สมาชิกสภาเขต (ส.ข.) ในวันสุดท้าย ปรากฏว่า ส.ก.มีผู้มาสมัครทั้งสิ้น 189 คน แบ่งเป็น ผู้สมัครจากพรรคประชาธิปัตย์ และพรรคเพื่อไทย พรรคละ 61 คน พรรคการเมืองใหม่ 40 คน พรรคประชากรไทย 1 คน พรรคมาตุภูมิ 2 คน ไม่สังกัดพรรคการเมือง 16 คน ได้แก่ กลุ่มคนรักบางขุนเทียน 2 คน , กลุ่มดอนเมืองคนรุ่นใหม่ , กลุ่มคนทำงานเมือง , กลุ่มคนธนบุรี , กลุ่มรักษ์ดอนเมือง , กลุ่มคนรักเมืองมีน และกลุ่มศรัทธาธรรม กลุ่มละ 1 คน
สำหรับ ส.ข.รวมผู้สมัครทั้งสิ้น 726 คน แบ่งเป็นผู้สมัครจากพรรคประชาธิปัตย์ 251 คน พรรคเพื่อไทย 256 คน พรรคการเมืองใหม่ 157 คน พรรคมาตุภูมิ 7 คน ไม่สังกัดพรรคการเมือง 25 คน กลุ่มคนธนบุรี กลุ่มคนทำงานเมือง กลุ่มปทุมวันก้าวหน้ากลุ่มละ 7 คน กลุ่มดวงใจแดง 5 คน และกลุ่มคนรักหนองจอก 4 คน
โดยเขตที่พรรคการเมืองใหม่ไม่ได้ส่งผู้สมัครลงก็มี เขตทวีวัฒนา บางกอกใหญ่ บางซื่อ พระโขนง ยานนาวา สวนหลวง ที่มี1เขตเลือกตั้ง จอมทอง สายไหม บางเขน บางกะปิ บางขุนเทียน ประเวศ คลองสามวา ทั้ง2เขตเลือกตั้ง และ ลาดกระบัง เขต1
สภากรุงเทพมหานคร (ตัวย่อ: ส.ก.) เป็นองค์กรนิติบัญญัติของกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบและดูแลการบริหารราชการกรุงเทพมหานครของฝ่ายบริหารอันมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นหัวหน้าคณะฯ ประธานสภากรุงเทพมหานครคนปัจจุบัน คือ นายธวัชชัย ปิยนนทยา ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549
โครงสร้างการบริหารราชการกรุงเทพมหานครที่สำคัญ ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานคร ซึ่งมีสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร จำนวน 57 คน ที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชนชาวกรุงเทพมหานครที่มีสิทธิเลือกตั้ง จาก 50 เขต มีวาระในการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี และทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการสามัญประจำสภากรุงเทพมหานคร อันเป็นตัวแทนภาระหน้าที่รับผิดชอบของสภากรุงเทพมหานคร จำนวน 11 คณะ ได้แก่
คณะกรรมการตรวจรายงานการประชุมและพิจารณาเปิดเผยรายงานการประชุมลับ
คณะกรรมการการศึกษาและวัฒนธรรม
คณะกรรมการการโยธาและผังเมือง
คณะกรรมการการสาธารณสุข
คณะกรรมการการรักษาความสะอาดและสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการการเศรษฐกิจ การเงิน การคลังและติดตามงบประมาณ
คณะกรรมการการปกครองและรักษาความสงบเรียบร้อย
คณะกรรมการการพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม
คณะกรรมการกิจการสภากรุงเทพมหานคร
คณะกรรมการการจราจร ขนส่ง และการระบายน้ำ
คณะกรรมการการท่องเที่ยวและการกีฬา
ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร มีจำนวนทั้งสิ้น 61 คน โดยเริ่มจากการเลือกตั้ง ส.ก.ส.ข.ในวันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เนื่องจากมีเขตทั้งหมด 5 เขตมีประชากรมากขึ้น ได้แก่ เขตบางขุนเทียน, เขตลาดกระบัง, เขตประเวศ, เขตคลองสามวา, เขตบางกะปิ โดยเขตที่มีสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ได้มากกว่า 1 คน จะต้องเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากกว่า 150,000 คน ซึ่งปัจจุบันมีทั้งหมด 11 เขตที่จะมีสมาชิกสภากรุงเทพมหานครได้มากกว่า 1 คน คือ 2 คน ได้แก่ เขตบางเขน, เขตจตุจักร, เขตสวนหลวง, เขตดอนเมือง, เขตสายไหม, เขตลาดกระบัง, เขตคลองสามวา, เขตประเวศ, เขตจอมทอง, เขตบางแค, เขตบางขุนเทียน
จากนี้ไปจะเป็นวิเคราะห์การเลือกตั้งโดยกรรมกรเอง
ถ้าพิจารณาดูผลการเลือกตั้งสส.ตั้งแต่ปี2544เป็นต้นมา คะแนนการเลือกตั้งมักจะผูกขาดอยู่แค่พรรคประชาธิปัตย์(กะจั๊ว)และพรรคเพื่อไทย(ซึ่งเป็นพรรคตัวแทนแม้วมาตั้งแต่ไทยรักไทยและพลังประชาชนเดิม)เรื่อยมาโดยแทบจะไม่เคยแบ่งคะแนนให้กับพรรคอื่นเกินกว่าหมื่นคะแนนได้เลย
โดยมีเพียงแค่ร.ต.อ.ดร.นิติภูมิ นวรัตน์ ที่ลงในนามพรรคเพื่อแผ่นดินเท่านั้นที่สามารถแย่งคะแนนมาได้ถึง2หมื่นคะแนน นอกนั้นก็ไม่เคยมีใครในสังกัดพรรคอื่นสามารถทำคะแนนได้ถึงขนาดนี้อีกเลย
และการเลือกตั้งผู้ว่ากทม.วาระตั้งแต่2547เป็นต้นมา กะจั๊วซึ่งได้นักการตลาดประชาสัมพันธ์หนุ่มมือดี หล่อและพูดจาเก่งอย่างอภิรักษ์ โกษะโยธินก็กวาดคะแนนได้มากถึง7-9แสนคะแนนขึ้นเรื่อยมาจนถึงม.ร.ว.สุขุมพันธ์ บริพัตร โดยพรรคตัวแทนแม้วที่มี ประภัสร์ จงสงวนและ ยุรนันท์ ภมรมนตรี ทำได้แค่5แสนกว่าเท่านั้น นอกนั้นก็เป็นของผู้สมัครอิสระที่ไม่ขึ้นกับพรรคกะจั๊วและตัวแทนแม้วโดยคะแนนที่ได้ขึ้นอยู่กับความนิยมในตัวผู้สมัครคนนั้นๆเองเป็นรายๆไป รวมแล้วประมาณ4-5แสนคะแนนด้วยกันซึ่งคะแนนที่ชูวิทย์ กมลวิศิษฐ์ และ ม.ล.ณัฏฐกรณ์ เทวกุล ทำไว้ที่2-3แสนคะแนนนั้นปฏิเสธไม่ได้ว่ามาจากสายของม็อบแดงที่ไม่ใช่แฟนคลับแม้ว
ส่วนสนามเลือกตั้งสก.นั้นผู้สมัครในนามอิสระที่สามารถฟันฝ่าผู้สมัครจากพรรคใหญ่จนได้รับเลือกตั้งเข้ามาได้มีอยู่ไม่กี่เขตดังนี้
- สองพี่น้อง พรพิมลและศตกร คงอุดม อดีตสก.แห่งกลุ่มคนบางซื่อ ลูกสาวของนายชัชวาลย์ คงอุดม เจ้าของหนังสือสยามรัฐ เจ้าพ่อแห่งเตาปูน
- เรณุมาศ อิศรภักดี อดีตสก.หลักสี่ พี่สาวของศุภมาศ อิศรภักดี อดีตสส.หลักสี่ สังกัดไทยรักไทยเก่า ซึ่งปัจจุบันย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทยของนายห้อย เนวิน
- นวรัตน์ อยู่บำรุง อดีตสก.หนองแขม น้องชายของ ร.ต.อ.ดร.เฉลิม อยู่บำรุง
นอกนั้นที่นั่งสก.ตกเป็นของผู้สมัครจากพรรคใหญ่ทั้ง2พรรคทั้งหมด โดยคะแนนนั้นทิ้งห่างกันตั้งแต่หลักร้อยไปจนถึงหลักหมื่น ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของฐานเสียงในแต่ละเขตของตัวพรรคเอง
โดยพรรคกะจั๊วมีฐานเสียงที่เรียกมาใช้งานได้แน่นอนครอบคลุมและหนาแน่นกว่า
บรรดาผู้สมัครของ2พรรคใหญ่ที่เปิดหน้ากันมาโดยเฉพาะพรรคกะจั๊วได้อดีตสก.ที่ย้ายจากไทยรักไทยเก่าเข้ามาอันได้อดีตสก.จากเขตบางนา,ตลิ่งชัน,บางขุนเทียน,บางบอนและดอนเมือง กับอดีตสก.สองพี่น้องแห่งกลุ่มคนบางซื่อ ในขณะที่พรรคตัวแทนแม้วได้เพียงแค่อดีตสก.หนองแขมมาเข้าสังกัด ยิ่งทำให้ได้เปรียบพรรคตัวแทนแม้วมากขึ้นไปอีก รวมกับกระแสสีขี้และสลิ่มครองเมืองที่เสพแต่สื่อกระแสหลักเน่าๆและดูถูกดูหมิ่นม็อบแดงโดยไม่สนใจข้อเท็จจริงที่ถูกรัฐบาลพรรคกะจั๊ว,พรรคนายห้อย,กองทัพ,ผู้อาวุโสมากบารมี,ข้ารับใช้และสื่อกระแสหลักเน่าๆได้หมกเม็ดเอาไว้
ที่ผ่านมามีการชุมนุมของม็อบ2ขั้วการเมืองอันได้แก่สีขี้(เหลือง) และสีแดง แต่เมื่อไม่นานมานี่ก็มีม็อบสีใหม่เกิดขึ้นนั้นก็คือสลิ่ม(หลากสี)
โดยสีขี้และสลิ่มมีจุดยืนที่ชัดเจนก็คือไม่เอาพรรคตัวแทนแม้ว ฉะนั้นพรรคที่จะเป็นทางเลือกในการเอาชนะพรรคตัวแทนแม้วได้ดีที่สุดกหนีไม่พ้นพรรคกะจั๊ว และนั้นก็เลยทำให้พรรคกะจั๊วสามารถเอาชนะการเลือกตั้งสส.ในกทม.เมื่อปี2550ได้สำเร็จ ดังนั้นจึงปฏิเสธไม่ได้ว่าพรรคกะจั๊วมีวันนี้ได้ก็เพราะม็อบสีขี้โดยแท้
โดยปกติถ้าการเลือกตั้งมีตัวเลือกแค่2พรรคนี้ละก็ ผมก็คงจะไม่ตื่นเต้นอะไรและคิดว่ายังไงซะพรรคกะจั๊วก็คงจะครองที่นั่งสก.ได้เป็นกอบเป็นกำอยู่แล้ว ไม่ต้องไปลุ้นอะไรมาก
แต่ทว่าวันนี้เมื่อฝั่งสีขี้ได้ตั้งพรรคการเมืองของตัวเองในนาม การเมืองใหม่ ลงสนามการเมืองนี่จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าพรรคนี้จะต้องแย่งฐานคะแนนเสียงของพรรคกะจั๊วมาได้อย่างมีนัยสำคัญแน่นอน ในขณะที่ฐานคะแนนเสียงม็อบสีแดงของพรรคตัวแทนแม้วก็คงไม่ไหลไปไหนแน่นอนต่อให้มีกลุ่มอิสระหรือพรรคเล็กลงแข่งสู้ด้วยก็ตามที
ซึ่งในการเลือกตั้งสก.คราวนี้พรรคสีขี้ได้ส่งผู้สมัครสก.ลงแข่งขันมากถึง40เขตจากทั้งหมด61เขตเลือกตั้งด้วยกัน โดยสีขี้มีตัวเต็งอันดับ1ก็คือ นส.สายรุ้ง ปิ่นโมรา อดีตสก.คลองสานที่ย้ายมาจากพรรคกะจั๊วลงแข่งขัน
การลงสนามเลือกตั้งสก.ของพรรคสีขี้ครั้งนี้ จะเป็นบทพิสูจน์ชี้เป็นชี้ตายของพรรคนี้ว่าอนาคตทางการเมืองของพรรคสีขี้จะเป็นไปในทิศทางไหนโดยดูจากผลคะแนนเลือกตั้งที่ออกมาไม่ว่าจะแพ้หรือชนะก็ตาม
ถ้าผลคะแนนที่ออกมาแต่ละเขตมากกว่า3-4พันคะแนนขึ้นไปจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสมดุลผลคะแนนเลือกตั้งของ2พรรคใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพรรคกะจั๊วซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่ามีฐานคะแนนเดียวกันกับพรรคสีขี้จะต้องถูกแย่งคะแนนของตัวเองไปอย่างช่วยไม่ได้ นั้นอาจทำให้พรรคตัวแทนแม้วมีกำลังใจฮึกเหิมในการต่อสู้เพื่อคว้าชัยชนะในการเลือกตั้งสก.ครั้งนี้อย่างถึงที่สุด ซึ่งผมไม่ขอคาดหวังว่าพรรคตัวแทนแม้วจะได้ที่นั่งสก.คราวนี้มาได้แค่ไหนกัน
นอกจากนี้ยังทำให้พรรคสีขี้มีกำลังใจฮึกเหิมอย่างยิ่งยวดในการต่อสู้เพื่อแย่งชิงที่นั่งสส.ในกทม.ทั้งระบบเขตและสัดส่วนในการเลือกตั้งใหญ่ครั้งต่อไป และจะทำให้พรรคกะจั๊วต้องประสบกับความยากลำบากมากขึ้นในการรักษาที่นั่งสส.ของตัวเองในกทม.ต่อไปอย่างเลี่ยงไม่ได้ การเลือกตั้งจะดูสนุกสนานและมีรสชาติมากยิ่งขึ้นไปอีกจากการที่มีตัวเลือกให้มากขึ้นถึง3ตัวเลือกจากเดิมที่มีเพียงแค่2ตัวเลือกเท่านั้น
แต่ถ้าผลคะแนนออกมาแต่ละเขตได้มาแค่หลักร้อยไม่ถึงหลักพัน นั้นหมายความว่าพรรคสีขี้ก็จะมีสภาพไม่ได้ต่างอะไรกับพรรคเล็กไม้ประดับที่ลงสนามการเมืองกทม.ให้สองพรรคใหญ่เขาขยี้กันเล่นๆเท่านั้นเอง
แสดงให้เห็นถึงความสูญเปล่าของการชุมนุมที่ผ่านมาของม็อบสีขี้มีเส้นที่คาดหวังว่าการชุมนุมทางการเมืองของตนจะได้รับความนิยมในหมู่แฟนคลับชนชั้นสูงและชนชั้นกลางคลั่งเจ้าดัดจริตซึ่งมีอยู่มากมาย และนั้นอาจเป็นปัจจัยให้พรรคสีขี้ต้องเร่งสร้างฐานคะแนนนิยมของตัวเองโดยแย่งมาจากพรรคกะจั๊วจากเดิมที่เคยโจมตีแค่พรรคหรือบุคคลที่เป็นตัวแทนแม้วเพื่อเอาฐานเสียงจากฝั่งนั้นมาให้จงได้
โดยการใช้สื่ออย่างหมาเนเจ๋อโจมตีการทำงานของพรรคกะจั๊วอย่างหนัก ซึ่งเดิมพรรคนี้ก็มีกรณีทุจริตและความชั่วช้าในการสลายการชุมนุมที่พรรคตัวแทนแม้วขุดขึ้นมาแฉและอภิปรายทางสื่อกระแสรองและInternet โดยพรรคกะจั๊วแม้จะมีสื่อกระแสหลักคอยช่วยเหลืออย่างมากมายโดยเฉพาะเครือเนชั่(ว)น ก็คงจะช่วยอะไรไม่ได้มากแถมยังมีคดีเงินบริจาค258ล้านกับเงินกองทุนเข้าพรรคการเมือง29ล้านจ่อคอหอยเข้าไปอีก แน่นอนว่าพรรคสีขี้น่าจะหันมาเล่นประเด็นนี้อย่างหนักและใช้เส้นสายที่มีตนมีอยู่อย่างมากมายผ่านชนชั้นสูงและอำนาจมืดนอกระบบเพื่อยุบพรรคกะจั๊วและตัดสิทธิ์กรรมการบริหารพรรคเป็นเวลา5ปีอย่างแน่นอนที่สุดเพื่อหวังแยกสลายกลุ่มตัวเด่นๆของกะจั๊วให้แตกแยกออกไปให้ได้มากที่สุดแบบกรณียุบพรรคใหญ่ที่เกิดขึ้นมาก่อนแล้วและบรรดาสส.เก่าที่แยกตัวไปตั้งพรรคใหม่ของตัวเองทรยศต่อมติพรรคใหญ่ที่ตนสังกัด ขึ้นอยู่กับสัมพันธ์ระหว่างสส.ในพรรคด้วยกันโดยเฉพาะภาคใต้และกทม.ซึ่งเป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดจะยังเหนียวแน่นไปด้วยผลประโยชน์ร่วมกันได้หรือไม่
แต่สิ่งที่ผมพูดมานี่จะเกิดขึ้นจริงๆหรือไม่ ต้องมาดูกันว่าอำนาจมืดนอกระบบจะตัดสินใจทำลายพรรคกะจั๊วโดยการยุบพรรคและตัดสิทธิ์นักการเมืองตามสำนวนเสร็จนาฆ่าโคถึกเสร็จศึกฆ่าขุนพลหรือไม่ พร้อมๆกับสร้างสูญญากาศทางการเมืองที่ประเทศไม่มีรักษาการณ์นายกฯ เปิดช่องให้มีการแก้รัฐธรรมนูญบางมาตราเพื่อตั้งรัฐบาลแห่งชาติไปพร้อมๆกับหาเหตุยืดเวลาการเลือกตั้งออกไปซึ่งนั้นก็ยิ่งสร้างความวุ่นวายในประเทศทับถมขึ้นไปอีก หรือถ้ายืดไปได้จนสภาหมดวาระก็มีความเป็นไปได้ที่กองทัพภายใต้การนำในสายบูรพาพยัคฆ์จอมอำมหิตสลายม็อบแดง ไว้ใจไม่ได้เลยที่จะก่อการรัฐประหารยึดอำนาจฉีกรัฐธรรมนูญขึ้นมาอีกครั้ง นั้นก็หนีไม่พ้นเหตุนองเลือดเมษาพฤษภาอำมหิตรอบใหม่ขึ้นมาอย่างแน่นอน เพราะเหตุผลและวาทกรรมเดิมๆอย่างการคอรับชั่น,ก่อการร้ายและล้มเจ้าจะใช้ไม่ได้ผลอีกต่อไป
หรือจะพยายามหาเหตุและช่องว่างของรัฐธรรมนูญอย่างตื้นเขิน เพื่อหวังปล่อยให้พรรคนี้รอดจากการถูกยุบทั้ง2คดี ประจานพฤติกรรมสองมาตรฐานให้เป็นที่อับอายสร้างความแตกแยกร้าวลึกเพิ่มขึ้นในประเทศต่อไปตราบจนสภาหมดวาระ เพื่อหวังจะไม่ให้พรรคตัวแทนแม้วใช้โอกาสนี้กลับมาคืนชีพอีกครั้ง
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
ความคิดเห็น