ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    The Music ♫เพลงสื่อรัก ♥

    ลำดับตอนที่ #10 : บทที่ 9 เรียนวันที่สอง

    • อัปเดตล่าสุด 30 เม.ย. 53


                                       บทที่ 9

     

     

     

                                                             เรียนวันที่สอง

     

    ณ ในห้องชมรม

     

    ภายในสองวันครูจะติวดนตรีไทยให้ทันนะเตรียมรับมือด้วยครูแกพูด

     

    เริ่มล่ะ

    ลักษณะการประสานเสียงของดนตรีไทยตามแบบโบราณนั้นใช้หลักอาศัยสีเสียง(Tone

    color)ของเครื่องดนตรีเป็นเครื่องแยกแต่ละแนวทำนองคือให้เครื่องดนตรีแต่ละชิ้นประสาน

    เสียงกันแบบแนวนอนคือให้เสียงลูกตกตรงกันมากกว่าแบบแนวตั้งอาศัยคอร์ด(Chord)

    เป็นพื้นฐานสากล

    ขึ้นเรื่องใหม่

    ลีลาเครื่องดนตรีไทยหมายถึงท่วงท่าหรือทำนองที่เครื่องดนตรีต่างๆได้บรรเลงออกมาสำหรับลีลา

    ของเครื่องดนตรีไทยแต่ละเครื่องที่เล่นเป็นเพลงออกมาบ่งบอกถึงคุณลักษณะและพื้นฐานอารมณ์

    จากตัวผู้เล่นเนื่องจากลีลาหนทางของดนตรีไทยนั้นไม่ได้กำหนดกฏเกณฑ์ไว้ตายตัวเหมือนกับ

    ดนตรีตะวันตกหากแต่มาลีลาผู้ซึ่งบรรเลงคิดแต่งออกมาในขณะที่เล่นเพราะฉะนั้นในการบรรเลง

    แต่ละครั้งจึงอาจมีทำนองไม่ซ้ำกันแต่ยังมีความไพเราะและความสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆ

    อยู่

    จบไปครึ่งนึ่ง

    ลักษณะเช่นนี้ได้อิทธพลมาตั้งแต่สมัยโบราณที่มีกฏเกณฑ์อยู่ที่การวางกลอนลงไปในทำนองหลัก

    ในที่นี้หมายถึงในเพลงไทยเดิมนั้นเริ่มด้วยเนื้อเพลงแท้ๆอันหมายถึงเสียงลูกตกก่อนที่จะปรับปรุง

    ขึ้นเป็นทำนองหลักหรือที่เรียกว่าเนื้อฆ้องอีกชั้นหนึ่งซึ่งในชั้นเนื้อฆ้องนี้ส่วนใหญ่จะยังเป็นทำนอง

    ห่างๆยังไม่มีความซับซอนมากแต่ยังกำหนดลักษระในการเล่นไว้ให้ผู้บรรเลงแต่ละคนได้บรรเลง

    ด้วยลีลาเฉพาะของตนในกรอบนั้นๆโดยลีลาที่กล่าวมาก็หมายถึงกลอนหรือหนทางต่างๆที่บรรเลง

    ไปนั่นเอง

    เริ่มต่อไปโดยไม่ปรานี่ครูแกพูด

    อ้าเด็กแย้ง

    ทนหน่อยอีกครึ่งหนึ่งก็ได้พักแล้ว

    อู”~เด็กอุทานเช่นเคย

    ต่อเลยนะ

    ดนตรีไทยมักเล่นเป็นวงดนตรีมีการแบ่งตามประเภทของการบรรเลงที่เป็นระเบียบมาแต่โบราณ

    กาลจนถึงปัจจุบันคือวงปี่พาทย์ประกอบด้วยเครื่องตีเป็นสำคัญเช่น ฆ้อง กลอง และมีเครื่องเป่าเป็น

    ประธานได้แก่ปี่ นอกจากนั้นเป็นเครื่องวงปี่พาทย์ยังแบ่งไปได้อีกคือวงปี่พาทย์ชาตรี,วงปี่พาทย์ไม้

    แข็ง,วงปี่พาทเครื่องห้า,วงปี่พาทย์เครื่องคู่,วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่,วงปี่พาทย์ไม้นวม,วงปี่พาทย์มอญ,

    วงปี่พาทย์นางหงส์

    ครึ่งแล้วครูแกพูด

    พักได้

    นี่เลมอนฉันถามเลมอน

    อะไรหรอเลมอนตอบฉัน

    นี่เลมอนเธอว่า โรส ข้าวและปั้นเหมือนคุ้นๆน่าไงไม่รู่อ่าฉันถามเลมอน

    ยังไม่รู้ตัวอีกหรอว่า3คนห้องอยู้ข้างเราเลย

    โรสอยู่ห้องก่อนจากเรา1ห้องโรสอยู่คนเดียวเพราะเขาอยู่กับรุ่นพี่ที่ผึงจบออกเอง

    ส่วนห้องถัดไปอีก1ห้องเป็นห้องของเราถัดจากห้องเราเป็นห้องของข้าวกับปั้นไง

    หรอเธอนี่ชอบยุ่งกัยเรื่องชาวบ้านดีจังนะฉันตอบเลมอนแบบกวนๆเพราะเธออบยาวไปหน่อย

    แฮะๆนิดหน่อยเลมอนตอบแบบเดิมเช่นเคย

    สวัสดีจ้าสนกันเลมอนข้าวทัก

    หวัดดีจ้าฉันทักข้าวกลับไป

    วันนี้ยังนรกเหมือนเคยข้าวถาม

    ใช่ฉันตอบ

    แล้วเลมอนล่ะข้าวถาม

    เอ้าไปไหนเนี่ยฉันอุทาน

    สวัสดีโรสทัก

    สวัสดีฉันทักกลับ

    ยังน่าเบื่อเช่นเคยโรสถาม

    เอ้าถึงเวลาเรียนแล้วครูมาบอก

    ต่อเลยนะจ๊ะ

    วงเครื่องสายได้แก่เครื่องดนตรีที่และกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีสายเป็นประธานมีเครื่องเป่าและ

    เครื่องตีเป็นส่วนประกอบได้แก่ ซอ งวม เอ้ย! ซอด้วง  ซออู้  จะเข้ เป็นต้น ปัจจุบันวงเครื่องสายมี

    4 แบบ คือ วงเครื่องสายเครื่องเดี่ยว,วงเครื่องสายเครื่องคู่,วงเครื่องสายผสม,วง

    เครื่องสายปี่ชวา

    ใกล้จบบทแล้วนะจ๊ะ

    ในสมัยโบราณเป็นคำเรียกการบรรเลงโดยทั่วไป เช่น "มโหรีเครื่องสาย" "มโหรี

    ปี่พาทย์" ในปัจจุบัน มโหรี ใช้เป็นชื่อเรียกเฉพาะวงบรรเลงอย่างหนึ่งอย่างใดที่มีเครื่อง

    ดีด สี ตี เป่า มาบรรเลงรวมกันหมด ฉะนั้นวงมโหรีก็คือวงเครื่องสาย และวงปี่พาทย์

    ผสมกัน วงมโหรีแบ่งเป็น วงมโหรีเครื่องสี่,วงมโหรีเครื่องหก,วงมโหรีเครื่องเดี่ยว หรือ

    มโหรีเครื่องเล็ก,วงมโหรีเครื่องคู่

    จบแล้วจ๊ะต่อไปอ่านหน้าห้อละกันครูแกพูดพร้อมส่งชีสไปให้คนละแผ่นซึ้นเนื้อหาไม่ซ้ำใคร

    ซะด้วย

    คนแรกก็คือโรส สองก็ ปั้น สาม ข้าว สี่ก็ ฉันสินนะฉันคิดในใจ

    คนแรกออกมาได้

    โรสคนออกมาแบบเครียดจัดพร้อมอ่าน

    จริงสิลืมบอกไปว่าใครได้แผ่นที่สี่น่ะอ่านระวังหน่อยแผ่นมันเก่าแล้ว

    มันเป็นแผ่นฉันฉันจึงหยิบแผ่นใบนั้นขึ้นมาดูมันเก่าจริงแหะ

    อ่านได้แล้ว

    เครื่องดนตรีไทยแบ่งตามลักษณะการทำให้เกิดเสียงได้เป็น 4 ประเภทคือ ดี  อุ๊บ!~ ดีด สี  ตี เป่า

    เครื่องดีด จะเข้  กระจับปี่ เตา อุ๊บ!~ เต้า  พิณ ซึง เจ้ง

    อ่านได้กระตุกจังนะครูทำท่าจะติ

    คนต่อไป

    ปั้นลุกออกไปแบบกล้าๆกลัวๆ

    เครื่องสี ซอด้วง ซอจอมสาย เอ้ย!~ ซอสามสาย ซออู้  สะล้อ ซอแฝด รือลับ ว๊าย!  รือบับ  มุ่ง

    กันตรึม เฮ้ย!!~~ ซอกันตรึม

    จะเล่นหรือไงคิคิßขนาดครูจะขำ

    คนต่อไป

    ข้าวรีบลุกเพราะตนรอมานานแล้ว

    เครื่องตี  กรับ กรับพวง กรับเสนา ระนาด ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอกมโหรี  ระนาดเอก

    เหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก ระนาดแก้ว แฮ่ะๆพูดด้วยความเร็วจึงหอบ

    ทำเป็นเด็กไปได้

    คนต่อไป

    ตราฉันจึงต้องไปค่อยอ่านเนี่ย

    เครื่องเป่า ขลุ่ย ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยเพียงอ้อ(ขลุ่ยเพียงออ) ขลุ่ยอู้  ปี่ ใน นอก  ไฉน  ชวา มอญ

    ใช้ได้

    คนต่อไป

    เลมอนลุกออกไป

    แบ่งได้เป็น 4 แบบคือ

     

    เพลงหน้าพาทย์ ได้แก่ เพลงที่บรรเลงประกอบกิริยาเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลง

    ต่าง ๆ ทั้งของมนุษย์ ของสัตว์ ของวัตถุต่าง ๆ และอื่น ๆ

     

    เพลงรับร้อง ที่เรียกว่าเพลงรับร้องก็ด้วยบรรเลงรับจากการร้อง คือ เมื่อคนร้องได้

    ร้องจบไปแล้วแต่ละท่อน ดนตรีก็ต้องบรรเลงรับในท่อนนั้น ๆ โดยมากมักเป็นเพลง

    อัตรา 3 ชั้นและเพลงเถา เช่น เพลงจระเข้หางยาว 3 ชั้น เพลงสี่บท 3 ชั้น และเพลง

    บุหลันเถา เป็นต้น

     

    เพลงละคร หมายถึงเพลงที่บรรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร และมหรสพต่าง

    ๆ ซึ่งหมายเฉพาะเพลงที่มีรัองและดนตรีรับเท่า นั้น เพลงละครได้แก่เพลงอัตรา 2

    ชั้น เช่น เพลงเวสสุกรรม เพลงพญาโศก หรือชั้นเดียว เช่น เพลงนาคราช เพลง

    ตะลุ่มโปง เป็นต้น

    เพลงเบ็ดเตล็ด ได้แก่ เพลงเล็ก ๆ สั้น ๆ สำหรับใช้บรรเลงเป็นพิเศษ เช่น บรรเลง

    ต่อท้ายเพลงใหญ่เป็นเพลงลูกบท หรือเพลงภาษา ต่าง ๆ

    ซึ่งบรรเลงเพื่อสนุกสนาน

    เสร็จไปตอนหนึงแล้วรินรินอยากจะถามกันว่าตอนเนื้อหาทุกเบื่อกันไหมถ้าบอกนะค่ะจะได้ทำการแก้เจ้าค้าา

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×