ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    หน้าที่พลเมือง

    ลำดับตอนที่ #2 : บทบาท สิทธิ เสรีพภาพ หน้าที่

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 4.4K
      13
      20 ก.ค. 51


    ความหมายของสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่
      เมื่อมีสามชิกถือกำเนิดขึ้นมาในสังคม สมาชิกนั้นก็จะมีสถานภาพทันที บทบาท สิทธิ เสรีภพ และหน้าที่ก็จะติดตามมา เมื่อ
    สมาชิกของสังคมได้เจริญเติบโตขึ้น
      1สถานภาพ  คือ ตำแหน่งที่สังคมมีให้กับคุบบในฐานะเป็นสมาชิกของสังคม เช่น สามาชิกที่เกิดขึ้นในประเทศไทยก็เป็น
    คนไทย เด็กชาย เด็กหญิง ผู้ชาย ผู้หญิง ครู นักเรียน พ่อ แม่
      2. บทบาท   คือ การกระทำของสมาชิกในสังคมที่ปฏิบัติไปตามสถานภาพที่ตนเองมีตำแหน่ง
      3. หน้าที่   หมายถึง การปฏิบัติ หรืองดเว้นการปฏิบัติของบุคคลซึ่งเป็นไปตามบทบาทของตนเองและตามที่กฏหมายกำหนด
      4. สิทธิ     หมายถึง อำนาจอันชอบธรรมที่กฏหมายให้การรับรองคุ้มครองให้กับบุคคล เช่น ให้ความคุ้มครองสิทธิในร่างกาย
    ของเจ้าของคนอื่นไม่สามารถล่วงละเมิดได้
      5. เสรีภาพ   หมายถึง การใช้สิทธิของบุคคลซึงอาจจะเป็นการพูด หรือ การกระทำที่ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น หรือความเป็น
    อิสระที่จะกระทำ หรืองดเว้นการกระทำตามขอบเขตที่กฏหมายบัญญัติไว้
           การปกครองระบอบประชาธิไตย สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ สิทธิเสรีภาพของบุคคลที่กฏหมายให้ความคุ้มครองไว้ ดังนั้นบุคคล
    จะต้องมีบทบาทในการใช้สิทธิเสรีภาพตามกฏหมายให้เหมาะสมกับสถานภาพของตนเอง แต่ต้องเคารพสิทธิเสรีภาพของ
    ผู้อื่นและอยู่ภายใน ขอบเขตที่กฏหมายกำหนด และเมื่อรัฐให้ความคุ้มครองในเรื่องสิทธิเสรีภาพแก่ประชาชน บุคคลก็จะ
    ต้องมีหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อรัฐ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ซึ่งกันและกันในการอยู่ร่วมกันในสังคม
          ในเรื่องสิทธิเสรีภาพ และหน้าที่ รัฐได้ให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก ถึงกับมีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ว่ารัฐให้ความ
    คุ้มครองบุคคล (ตามมาตรา 4 และ 5 หมวด 1 ทั่วไป ) เช่น
           มาตรา 4 ศักดิ์ศรีของมนุษ์ สิทธิ และเสรีภาพของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง
           มาตรา 5 ประชาชนชาวไททยไม่ว่าแหล่งกำเนิด เพศ หรือศาสนาใดย่อมอยู่ในความคุ้มครองแห่งรัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×