บันเทิงไทยโกอินเตอร์ - บันเทิงไทยโกอินเตอร์ นิยาย บันเทิงไทยโกอินเตอร์ : Dek-D.com - Writer

    บันเทิงไทยโกอินเตอร์

    นะ

    ผู้เข้าชมรวม

    1,103

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    0

    ผู้เข้าชมรวม


    1.1K

    ความคิดเห็น


    2

    คนติดตาม


    0
    หมวด :  รักอื่น ๆ
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  11 ก.ย. 51 / 11:17 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น

    จากการที่วงการบันเทิงไทย ทั้ง ละคร หนัง เพลง ไปโด่งดังในต่างประเทศในลักษณะ  คลื่นใต้น้ำนั้น  เป็นปรากฎการณ์ที่แปลก  แม้ว่ารัฐบาลไทยจะไม่ค่อยเห็นความสำคัญในเรื่องนี้นัก

    ในตลาดบันเทิงเอเชีย จะมีผู้เล่น คือ ญี่ปุ่น เกาหลี จีน(ฮองกง+ไต้หวัน)  และไทย  ตามลำดับ

    แต่ในช่วงเวลาที่ผ่านมา  ต้องยอมรับว่า เอกชนไทยเก่งมาก  ที่สามารถไปเปิดตลาดได้ด้วยตัวเอง  แม้จะมีทุนน้อย และขาดการสนับสนุนจากภาครัฐก็ตามที  แต่ทว่าก็ไปได้แค่ระดับหนึ่งเท่านั้น

    และเป็นที่น่าดีใจที่ในขณะนี้ ภาครัฐได้หันมาสนใจบางแล้ว  หลังจากเกิดปรากฎการณ์ กระแสเกาหลี  ที่สร้างความสนใจให้แก่รัฐบาลไทย ในมุมของรายได้จากการท่องเที่ยวซึ่งเป็นรายได้หลักของประเทศไทย  ที่พบว่าหลังจาก เกิดกระแสเกาหลี  การท่องเที่ยว และภาพลักษณ์ของประเทศเกาหลี  ดีขึ้นอย่างมาก

    และล่าสุด พรบ.ว่าด้วยการจัดเรตติ้งหนัง  และละคร  ก็ออกมาบังคับใช้แล้ว  หลังจากที่สู้กันทางความคิดมานาน

    หน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการส่งเสริมอุตสาหกรรมบันเทิงมีหลายหน่วยงานมาก  แต่หลักๆ  ก็จะมี กระทรวงพานิชย์ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

    ในส่วนของกระทรวงวัฒนธรรม หากหนัง  หรือ ละคร ที่จัดสร้างในรูปแบบที่เผยแพร่เอกลักษณ์ไทย จะได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของกระทรวงวัฒนธรรม

    และ สภาพัฒ์เองก็ได้เขียนแผนพัฒนาวงการบันเทิงไทย  อย่างเป็นระบบด้วยเช่นกัน  ใจความหลักของแผนคือ  1.พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการไทย  2.ส่งเสริมให้ต่างชาติเข้ามาใช้ไทยเป็นที่ลงทุนและถ่ายทำหนัง

    ทางด้านกรมส่งเสริมการลงทุน (BOI) ก้ได้มีการส่งเสริมการลงทุนในอุตสหกรรมบันเทิงนี้แล้วเช่นกัน

    สำหรับแนวทางพัฒนาวงการบันเทิงไทยที่น่าสนใจคือ การสร้างสินค้า ในรูปของคุณภาพศิลปิน  ดารานักร้อง  เพราในยุคที่ไม่มีประเทศใดประเทศหนึ่งเป็นเจ้าของ สื่อ และเทคโนโลยีอย่างแท้จริง  จำเป็นที่จะต้องแข่งกันในเรื่องของความสามารถของศิลปิน ดารา เนื้อเรื่อง   บทหนัง ฯลฯ 

    ต้องแก้ไขการละเมิดปัญหาลิขสิทธิ์  เพราะเป็นปัญหาที่ค่อนข้างร้ายแรงในอุตสาหกรรมนี้  แต่การจะบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์  อย่างรุนแรงจนเกินไปนั้น  ก็มีปัญหาเช่นกัน  เช่นอาจจะทำให้ ตัวศิลปิน ที่จะนำเสนอ  ไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้างได้  ดังนั้น  จึงควรหาช่องทางการหารายได้อย่างผสมผสานกันไป  ตามความเหมาะสม เช่น การโหลดเพลงโดยการหักรายได้จากระบบโทรศัพท์มือถือ

    การสร้างคลื่นใต้น้ำ  เป็นปรากฎการที่  เกิดจากเทคโนโลยีในโลกอินเตอร์เน๊ต ที่มีการเข้าถึงผลงานศิลปินไทยได้ง่าย  ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม  แต่ผลงานนั้น กลับเป็นที่ถูกใจของคนในประเทศอื่นอย่างไม่ตั้งใจ  จนเป็นกระแสเรียกร้องให้มีการ จัดจำหน่าย  ผลงานเหล่านั้น ตัวอย่างที่เกิดขึ้นแล้ว คือในประเทศจีน ที่ชอบละครเรื่องเลือดขัตติยาอย่างมาก

    การสร้างแฟนคลับ (ลักษณะคล้ายแฟนคลับฟุตบอลในยุโรป) เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น ที่ประเทศญี่ปุ่น  เนื่องจากว่า คนกลุ่มนี้หากว่าชอบศิลปินคนใดอย่างมากๆ  คนกลุ่มนี้จะทุ่มเททุกอย่างทั้งการซื้อของลิขสิทธิ์ของศิลปิน แม้จะมีของที่ละเมิดลิขสิทธิ์ขายอยู่ก็ตาม  แต่พวกเขาจะไม่ยอมซื้อ เพราะไม่ต้องการทำร้ายศิลปินที่เขารัก อีกทั้งช่วยเผยแพร่ของมูลของศิลปินคนนั้น  ชนิดที่ว่าอย่างจริงจังเลยทีเดียว  

    การยืนระยะ  เราจะเห็นได้ว่า กระแสเกาหลีในปัจจุบันเริ่มตก  เนื่องจากการที่บูมจนเกินไป  และบางครั้งมีการใส่วัฒนธรรมของเกาหลีที่มากเกินไป  จึงทำให้เริ่มเกิดกระแสต่อต้านของคนดูอยู่ลึกๆได้  ดังนั้น ในกรณีของไทย หากต้องการ ยืนระยะให้ได้นาน  ต้องไม่ไห้เป็นไปในรูปแบบตื่นกระแสแบบเกาหลี แต่ควรเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป โดยวิธีการสร้างคลื่นใต้น้ำ  ส่วนการใส่วัฒนธรรมไทยเข้าไปนั้น ต้องใส่อย่างแนบเนียบ  ไม่ให้คนดูรู้สึกว่า  กำลังโดนยัดเยียดทางวัฒนธรรมอยู่

    การสร้าง ศิลปิน เป็นโจทย์ที่ยาก เพราะศิลปินจะต้องมีความสามารถจริงๆ  ไม่ด้านใดก็ด้านหนึ่ง  โดยเฉพาะเรื่องภาษา  หากว่าตัวศิลปิน สามารถพูดภาษาของประเทศนั้นๆได้ ก็จะได้รับกระแสที่ดีมาก  และหากพวกเขาชื่นชอบแล้ว  พวกเขาก็จะพยายามเสาะหาผลงานอื่นๆของศิลปินคนนั้นๆเอง

    การตลาด  ไม่ควรที่จะไปแข่งกับเจ้าของตลาดเดิม  ที่มีอยู่ในประเทศนั้นๆ  แต่ควรเข้าไปในลักษณะ หุ้นส่วน โดยมีการแบ่งผลประโยชน์กัน  ให้บริษัทในประเทศนั้นๆทำตลาดให้

    โดยลักษณะนิสัยของคนไทยนั้น  ชอบความบันเทิง และมีความคิดสร้างสรรค์อยู่แล้ว  ประกอบกับ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทยนั้น  มีความโดดเด่นมาก หากมีกาส่งเสริมด้านนี้อย่างจริงจังแล้ว  เชื่อได้ว่า จะเป็นอุตสาหกรรมหนึ่ง  ที่น่าจับตามาเลยทีเดียว

    คีย์เวิดค์
    อุตสาหกรรมบันเทิงไทย  การพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงไทย  2551  ละครไทย  เพลงไทย  โกอินเตอร์  หนังไทย แฟชั่นไทย 
    จากการที่วงการบันเทิงไทย ทั้ง ละคร หนัง เพลง ไปโด่งดังในต่างประเทศในลักษณะ  คลื่นใต้น้ำนั้น  เป็นปรากฎการณ์ที่แปลก  แม้ว่ารัฐบาลไทยจะไม่ค่อยเห็นความสำคัญในเรื่องนี้นัก

    ในตลาดบันเทิงเอเชีย จะมีผู้เล่น คือ ญี่ปุ่น เกาหลี จีน(ฮองกง+ไต้หวัน)  และไทย  ตามลำดับ

    แต่ในช่วงเวลาที่ผ่านมา  ต้องยอมรับว่า เอกชนไทยเก่งมาก  ที่สามารถไปเปิดตลาดได้ด้วยตัวเอง  แม้จะมีทุนน้อย และขาดการสนับสนุนจากภาครัฐก็ตามที  แต่ทว่าก็ไปได้แค่ระดับหนึ่งเท่านั้น

    และเป็นที่น่าดีใจที่ในขณะนี้ ภาครัฐได้หันมาสนใจบางแล้ว  หลังจากเกิดปรากฎการณ์ กระแสเกาหลี  ที่สร้างความสนใจให้แก่รัฐบาลไทย ในมุมของรายได้จากการท่องเที่ยวซึ่งเป็นรายได้หลักของประเทศไทย  ที่พบว่าหลังจาก เกิดกระแสเกาหลี  การท่องเที่ยว และภาพลักษณ์ของประเทศเกาหลี  ดีขึ้นอย่างมาก

    และล่าสุด พรบ.ว่าด้วยการจัดเรตติ้งหนัง  และละคร  ก็ออกมาบังคับใช้แล้ว  หลังจากที่สู้กันทางความคิดมานาน

    หน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการส่งเสริมอุตสาหกรรมบันเทิงมีหลายหน่วยงานมาก  แต่หลักๆ  ก็จะมี กระทรวงพานิชย์ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

    ในส่วนของกระทรวงวัฒนธรรม หากหนัง  หรือ ละคร ที่จัดสร้างในรูปแบบที่เผยแพร่เอกลักษณ์ไทย จะได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของกระทรวงวัฒนธรรม

    และ สภาพัฒ์เองก็ได้เขียนแผนพัฒนาวงการบันเทิงไทย  อย่างเป็นระบบด้วยเช่นกัน  ใจความหลักของแผนคือ  1.พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการไทย  2.ส่งเสริมให้ต่างชาติเข้ามาใช้ไทยเป็นที่ลงทุนและถ่ายทำหนัง

    ทางด้านกรมส่งเสริมการลงทุน (BOI) ก้ได้มีการส่งเสริมการลงทุนในอุตสหกรรมบันเทิงนี้แล้วเช่นกัน

    สำหรับแนวทางพัฒนาวงการบันเทิงไทยที่น่าสนใจคือ การสร้างสินค้า ในรูปของคุณภาพศิลปิน  ดารานักร้อง  เพราในยุคที่ไม่มีประเทศใดประเทศหนึ่งเป็นเจ้าของ สื่อ และเทคโนโลยีอย่างแท้จริง  จำเป็นที่จะต้องแข่งกันในเรื่องของความสามารถของศิลปิน ดารา เนื้อเรื่อง   บทหนัง ฯลฯ 

    ต้องแก้ไขการละเมิดปัญหาลิขสิทธิ์  เพราะเป็นปัญหาที่ค่อนข้างร้ายแรงในอุตสาหกรรมนี้  แต่การจะบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์  อย่างรุนแรงจนเกินไปนั้น  ก็มีปัญหาเช่นกัน  เช่นอาจจะทำให้ ตัวศิลปิน ที่จะนำเสนอ  ไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้างได้  ดังนั้น  จึงควรหาช่องทางการหารายได้อย่างผสมผสานกันไป  ตามความเหมาะสม เช่น การโหลดเพลงโดยการหักรายได้จากระบบโทรศัพท์มือถือ

    การสร้างคลื่นใต้น้ำ  เป็นปรากฎการที่  เกิดจากเทคโนโลยีในโลกอินเตอร์เน๊ต ที่มีการเข้าถึงผลงานศิลปินไทยได้ง่าย  ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม  แต่ผลงานนั้น กลับเป็นที่ถูกใจของคนในประเทศอื่นอย่างไม่ตั้งใจ  จนเป็นกระแสเรียกร้องให้มีการ จัดจำหน่าย  ผลงานเหล่านั้น ตัวอย่างที่เกิดขึ้นแล้ว คือในประเทศจีน ที่ชอบละครเรื่องเลือดขัตติยาอย่างมาก

    การสร้างแฟนคลับ (ลักษณะคล้ายแฟนคลับฟุตบอลในยุโรป) เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น ที่ประเทศญี่ปุ่น  เนื่องจากว่า คนกลุ่มนี้หากว่าชอบศิลปินคนใดอย่างมากๆ  คนกลุ่มนี้จะทุ่มเททุกอย่างทั้งการซื้อของลิขสิทธิ์ของศิลปิน แม้จะมีของที่ละเมิดลิขสิทธิ์ขายอยู่ก็ตาม  แต่พวกเขาจะไม่ยอมซื้อ เพราะไม่ต้องการทำร้ายศิลปินที่เขารัก อีกทั้งช่วยเผยแพร่ของมูลของศิลปินคนนั้น  ชนิดที่ว่าอย่างจริงจังเลยทีเดียว  

    การยืนระยะ  เราจะเห็นได้ว่า กระแสเกาหลีในปัจจุบันเริ่มตก  เนื่องจากการที่บูมจนเกินไป  และบางครั้งมีการใส่วัฒนธรรมของเกาหลีที่มากเกินไป  จึงทำให้เริ่มเกิดกระแสต่อต้านของคนดูอยู่ลึกๆได้  ดังนั้น ในกรณีของไทย หากต้องการ ยืนระยะให้ได้นาน  ต้องไม่ไห้เป็นไปในรูปแบบตื่นกระแสแบบเกาหลี แต่ควรเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป โดยวิธีการสร้างคลื่นใต้น้ำ  ส่วนการใส่วัฒนธรรมไทยเข้าไปนั้น ต้องใส่อย่างแนบเนียบ  ไม่ให้คนดูรู้สึกว่า  กำลังโดนยัดเยียดทางวัฒนธรรมอยู่

    การสร้าง ศิลปิน เป็นโจทย์ที่ยาก เพราะศิลปินจะต้องมีความสามารถจริงๆ  ไม่ด้านใดก็ด้านหนึ่ง  โดยเฉพาะเรื่องภาษา  หากว่าตัวศิลปิน สามารถพูดภาษาของประเทศนั้นๆได้ ก็จะได้รับกระแสที่ดีมาก  และหากพวกเขาชื่นชอบแล้ว  พวกเขาก็จะพยายามเสาะหาผลงานอื่นๆของศิลปินคนนั้นๆเอง

    การตลาด  ไม่ควรที่จะไปแข่งกับเจ้าของตลาดเดิม  ที่มีอยู่ในประเทศนั้นๆ  แต่ควรเข้าไปในลักษณะ หุ้นส่วน โดยมีการแบ่งผลประโยชน์กัน  ให้บริษัทในประเทศนั้นๆทำตลาดให้

    โดยลักษณะนิสัยของคนไทยนั้น  ชอบความบันเทิง และมีความคิดสร้างสรรค์อยู่แล้ว  ประกอบกับ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทยนั้น  มีความโดดเด่นมาก หากมีกาส่งเสริมด้านนี้อย่างจริงจังแล้ว  เชื่อได้ว่า จะเป็นอุตสาหกรรมหนึ่ง  ที่น่าจับตามาเลยทีเดียว

    คีย์เวิดค์
    อุตสาหกรรมบันเทิงไทย  การพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงไทย  2551  ละครไทย  เพลงไทย  โกอินเตอร์  หนังไทย แฟชั่นไทย 

    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

      จากการที่วงการบันเทิงไทย ทั้ง ละคร หนัง เพลง ไปโด่งดังในต่างประเทศในลักษณะ  คลื่นใต้น้ำนั้น  เป็นปรากฎการณ์ที่แปลก  แม้ว่ารัฐบาลไทยจะไม่ค่อยเห็นความสำคัญในเรื่องนี้นัก

      ในตลาดบันเทิงเอเชีย จะมีผู้เล่น คือ ญี่ปุ่น เกาหลี จีน(ฮองกง+ไต้หวัน)  และไทย  ตามลำดับ

      แต่ในช่วงเวลาที่ผ่านมา  ต้องยอมรับว่า เอกชนไทยเก่งมาก  ที่สามารถไปเปิดตลาดได้ด้วยตัวเอง  แม้จะมีทุนน้อย และขาดการสนับสนุนจากภาครัฐก็ตามที  แต่ทว่าก็ไปได้แค่ระดับหนึ่งเท่านั้น

      และเป็นที่น่าดีใจที่ในขณะนี้ ภาครัฐได้หันมาสนใจบางแล้ว  หลังจากเกิดปรากฎการณ์ กระแสเกาหลี  ที่สร้างความสนใจให้แก่รัฐบาลไทย ในมุมของรายได้จากการท่องเที่ยวซึ่งเป็นรายได้หลักของประเทศไทย  ที่พบว่าหลังจาก เกิดกระแสเกาหลี  การท่องเที่ยว และภาพลักษณ์ของประเทศเกาหลี  ดีขึ้นอย่างมาก

      และล่าสุด พรบ.ว่าด้วยการจัดเรตติ้งหนัง  และละคร  ก็ออกมาบังคับใช้แล้ว  หลังจากที่สู้กันทางความคิดมานาน

      หน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการส่งเสริมอุตสาหกรรมบันเทิงมีหลายหน่วยงานมาก  แต่หลักๆ  ก็จะมี กระทรวงพานิชย์ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

      ในส่วนของกระทรวงวัฒนธรรม หากหนัง  หรือ ละคร ที่จัดสร้างในรูปแบบที่เผยแพร่เอกลักษณ์ไทย จะได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของกระทรวงวัฒนธรรม

      และ สภาพัฒ์เองก็ได้เขียนแผนพัฒนาวงการบันเทิงไทย  อย่างเป็นระบบด้วยเช่นกัน  ใจความหลักของแผนคือ  1.พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการไทย  2.ส่งเสริมให้ต่างชาติเข้ามาใช้ไทยเป็นที่ลงทุนและถ่ายทำหนัง

      ทางด้านกรมส่งเสริมการลงทุน (BOI) ก้ได้มีการส่งเสริมการลงทุนในอุตสหกรรมบันเทิงนี้แล้วเช่นกัน

      สำหรับแนวทางพัฒนาวงการบันเทิงไทยที่น่าสนใจคือ การสร้างสินค้า ในรูปของคุณภาพศิลปิน  ดารานักร้อง  เพราในยุคที่ไม่มีประเทศใดประเทศหนึ่งเป็นเจ้าของ สื่อ และเทคโนโลยีอย่างแท้จริง  จำเป็นที่จะต้องแข่งกันในเรื่องของความสามารถของศิลปิน ดารา เนื้อเรื่อง   บทหนัง ฯลฯ 

      ต้องแก้ไขการละเมิดปัญหาลิขสิทธิ์  เพราะเป็นปัญหาที่ค่อนข้างร้ายแรงในอุตสาหกรรมนี้  แต่การจะบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์  อย่างรุนแรงจนเกินไปนั้น  ก็มีปัญหาเช่นกัน  เช่นอาจจะทำให้ ตัวศิลปิน ที่จะนำเสนอ  ไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้างได้  ดังนั้น  จึงควรหาช่องทางการหารายได้อย่างผสมผสานกันไป  ตามความเหมาะสม เช่น การโหลดเพลงโดยการหักรายได้จากระบบโทรศัพท์มือถือ

      การสร้างคลื่นใต้น้ำ  เป็นปรากฎการที่  เกิดจากเทคโนโลยีในโลกอินเตอร์เน๊ต ที่มีการเข้าถึงผลงานศิลปินไทยได้ง่าย  ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม  แต่ผลงานนั้น กลับเป็นที่ถูกใจของคนในประเทศอื่นอย่างไม่ตั้งใจ  จนเป็นกระแสเรียกร้องให้มีการ จัดจำหน่าย  ผลงานเหล่านั้น ตัวอย่างที่เกิดขึ้นแล้ว คือในประเทศจีน ที่ชอบละครเรื่องเลือดขัตติยาอย่างมาก

      การสร้างแฟนคลับ (ลักษณะคล้ายแฟนคลับฟุตบอลในยุโรป) เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น ที่ประเทศญี่ปุ่น  เนื่องจากว่า คนกลุ่มนี้หากว่าชอบศิลปินคนใดอย่างมากๆ  คนกลุ่มนี้จะทุ่มเททุกอย่างทั้งการซื้อของลิขสิทธิ์ของศิลปิน แม้จะมีของที่ละเมิดลิขสิทธิ์ขายอยู่ก็ตาม  แต่พวกเขาจะไม่ยอมซื้อ เพราะไม่ต้องการทำร้ายศิลปินที่เขารัก อีกทั้งช่วยเผยแพร่ของมูลของศิลปินคนนั้น  ชนิดที่ว่าอย่างจริงจังเลยทีเดียว  

      การยืนระยะ  เราจะเห็นได้ว่า กระแสเกาหลีในปัจจุบันเริ่มตก  เนื่องจากการที่บูมจนเกินไป  และบางครั้งมีการใส่วัฒนธรรมของเกาหลีที่มากเกินไป  จึงทำให้เริ่มเกิดกระแสต่อต้านของคนดูอยู่ลึกๆได้  ดังนั้น ในกรณีของไทย หากต้องการ ยืนระยะให้ได้นาน  ต้องไม่ไห้เป็นไปในรูปแบบตื่นกระแสแบบเกาหลี แต่ควรเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป โดยวิธีการสร้างคลื่นใต้น้ำ  ส่วนการใส่วัฒนธรรมไทยเข้าไปนั้น ต้องใส่อย่างแนบเนียบ  ไม่ให้คนดูรู้สึกว่า  กำลังโดนยัดเยียดทางวัฒนธรรมอยู่

      การสร้าง ศิลปิน เป็นโจทย์ที่ยาก เพราะศิลปินจะต้องมีความสามารถจริงๆ  ไม่ด้านใดก็ด้านหนึ่ง  โดยเฉพาะเรื่องภาษา  หากว่าตัวศิลปิน สามารถพูดภาษาของประเทศนั้นๆได้ ก็จะได้รับกระแสที่ดีมาก  และหากพวกเขาชื่นชอบแล้ว  พวกเขาก็จะพยายามเสาะหาผลงานอื่นๆของศิลปินคนนั้นๆเอง

      การตลาด  ไม่ควรที่จะไปแข่งกับเจ้าของตลาดเดิม  ที่มีอยู่ในประเทศนั้นๆ  แต่ควรเข้าไปในลักษณะ หุ้นส่วน โดยมีการแบ่งผลประโยชน์กัน  ให้บริษัทในประเทศนั้นๆทำตลาดให้

      โดยลักษณะนิสัยของคนไทยนั้น  ชอบความบันเทิง และมีความคิดสร้างสรรค์อยู่แล้ว  ประกอบกับ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทยนั้น  มีความโดดเด่นมาก หากมีกาส่งเสริมด้านนี้อย่างจริงจังแล้ว  เชื่อได้ว่า จะเป็นอุตสาหกรรมหนึ่ง  ที่น่าจับตามาเลยทีเดียว

      คีย์เวิดค์
      อุตสาหกรรมบันเทิงไทย  การพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงไทย  2551  ละครไทย  เพลงไทย  โกอินเตอร์  หนังไทย แฟชั่นไทย 

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×