ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    รักษ์ภาษาไทยใช้ให้ถูก

    ลำดับตอนที่ #10 : เรื่องการดำเนินเรื่อง

    • อัปเดตล่าสุด 19 มิ.ย. 50


    ต่อไปนี้เป็นเรื่องที่มาจากการเห็นจุดบกพร่องของการเขียนเวลาไปอ่านของชาวบ้านเขา แล้วก็ไม่รู้จะบอกเขาอย่างไร พอเจอซ้ำเข้าก็เริ่มขี้เกียจพิมพ์ แต่อยากช่วยชี้ทางสว่างให้จึง...

    เกิดเป็นบทความตอนนี้

    เรื่องการดำเนินเรื่อง

    ก่อนอื่น ต้องอธิบายก่อนว่า การดำเนินเรื่อง คือจังหวะของเรื่องและเหตุการณ์ เหมือนเวลาอ่านกลอน จะดูง่าย  ตอนไหนไม่เน้นจะอธิบายหยาบๆพอเข้าใจ แต่ตอนสำคัญก็จะอธิบายละเอียด เช่น

    ถ้าไม่สำคัญ จะอธิบายว่ากินข้าว แต่ถ้าละเอียดก็ประมาณว่า ค่อยบรรจง ใช้ปลายช้อนตักข้าวขึ้นมาพอดีคำ แล้วยกใส่ปาก เคี้ยวๆ กลืน ... ก็พอเข้าใจไหมคะ นั่นล่ะ แต่มันขึ้นอยู่กับท่านด้วยว่า ในช่วงไหนเน้นหนัก ช่วงไหน พอกระทัดรัด บางทีคนเขียนต้องการแสดงรายละเอียดบางอย่าง คนอ่านจะได้รู้ แต่ถ้าทำสม่ำเสมอ ละเอียดเท่ากันหมดก็จะทำให้คนอ่านดูไม่ค่อยออก แต่ว่า

     (ก็ไม่ได้รู้มากอะไรเพียงแต่ชอบเรียนวิชาภาษาไทยน่ะ เราแนะนำเลยนะ ว่ามีประโยชน์มาก ในเรื่องหลักการ แต่เรื่องปฏิบัติมันขึ้นอยู่กับฝึกฝนซึ่งเราไม่ค่อยเก่งด้านปฏิบัติ ^-^) Rosetta_lovely ปล.ข้าไม่ใช่เกรียน-*-

                    ปล.2 คัดมาจากบทตอบ QM ระหว่างข้าพเจ้ากับ ท่าน ก็นะ...

                    ดังนั้นการดำเนินเรื่องจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องคำนึงถึงและให้ความสำคัญ อย่างที่ได้ยกตัวอย่างอันแจ่มชัดไปแล้ว ซึ่งการดำเนินเรื่องจะดูแตกต่างกันได้ ก็เป็นไปด้วยประการฉะนี้นั่นเอง

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×