ลำดับตอนที่ #8
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #8 : ตัวอย่างระบบนิเวศน้ำเค็ม : ทะเลแคสเปียน
ทะเลแคสเปียน หรือ ทะเลสาบแคสเปียน (ภาษาอังกฤษ: Caspian Sea) เป็นทะเลปิดที่อยู่ระหว่างทวีปเอเชียกับทวีปยุโรป มีเนื้อที่ผิวน้ำประมาณ 371,000 ตร.กม. และจุดลึกที่สุดลึกประมาณ 980 เมตร ทะเลแคสเปียนนี้เป็นพรมแดนของประเทศรัสเซีย ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศอิหร่าน ประเทศเติร์กเมนิสถาน และประเทศคาซัคสถาน
ทะเลแคสเปียนมีลักษณะร่วมของทั้งทะเลและทะเลสาบ น้ำในทะเลแคสเปียนไม่ได้เป็นน้ำจืด มีปริมาณเกลือประมาณ 1.2% ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของปริมาณเกลือในน้ำทะเลทั่วไป
ทะเลแคสเปียนนี้กำเนิดเมื่อประมาณ 30 ล้านปีมาแล้ว และได้กลายเป็นทะเลปิดในภายหลัง (ประมาณ 5.5 ล้านปี) จากหลักฐานที่พบ คาดว่ามนุษย์เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้เมื่อ 75,000 ปีก่อน
ทะเลแคสเปียนมีลักษณะร่วมของทั้งทะเลและทะเลสาบ น้ำในทะเลแคสเปียนไม่ได้เป็นน้ำจืด มีปริมาณเกลือประมาณ 1.2% ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของปริมาณเกลือในน้ำทะเลทั่วไป
ทะเลแคสเปียนนี้กำเนิดเมื่อประมาณ 30 ล้านปีมาแล้ว และได้กลายเป็นทะเลปิดในภายหลัง (ประมาณ 5.5 ล้านปี) จากหลักฐานที่พบ คาดว่ามนุษย์เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้เมื่อ 75,000 ปีก่อน
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
ความคิดเห็น