ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    Sakura Hana House ภาษาญี่ปุ่น น่ารู้ ง่าย ๆ

    ลำดับตอนที่ #199 : [off.] 中元・歳暮 Chuugen・Seibo(ของขวัญกลางปีและของขวัญสิ้นปี)

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 941
      0
      26 เม.ย. 65

    TB

    中元(ちゅうげん)歳暮(せいぼ)

    日本(にほん)では、(なつ)(ふゆ)(ねん)2()(かい)日頃(ひごろ)世話(せわ)になっている(かた)感謝(かんしゃ)() ()ちをこめて、品物(しなもの)(おく)習慣(しゅうかん)があります。(なつ)(おく)(もの)を「中元(ちゅうげん)」、(ふゆ)(おく)(もの)を「歳暮(せいぼ)」と()び、会話(かいわ)では「お中元(ちゅうげん)」「お歳暮(せいぼ)」といい ます。本来(ほんらい)ならば、先方(せんぽう)(おとず)れ、お(れい)挨拶(あいさつ)(とも)品物(しなもの)(わた)すので すが、現代生活(げんだいせいかつ)(たが)いに(いそが)しいため、デパートや商店(しょうてん)()った品物(しなもの) をそこから配送(はいそう)してもらうことが(おお)くなりました。この時期(じき)、デパ ートなどは買物客(かいものきゃく)(おお)いに(にぎ)わいます。最近(さいきん)贈答(ぞうとう)商品(しょうひん)もだんだ 高級化(こうきゅうか)し、(こと)日本人(にほんじん)食生活(しょくせいかつ)グルメ(ぐるめ)志向(しこう)(ともな)い、食品(しょくひん)豊富(ほうふ)にとり(そろ)えられ、贈答品(ぞうとうひん)主役(しゅやく)になっています。

     

    ACTIVITY

    中元(ちゅうげん)歳暮(せいぼ)(おく)(かた)

    1.まず、(おく)(さき)適当(てきとう)品物(しなもの)予算(よさん)()めます。

    2.デパートや商店(しょうてん)品物(しなもの)(えら)び、「御中元(おちゅうげん)」または「御歳暮(おせいぼ)」の「のし (かみ) *() をかけてから包装(ほうそう)してもらいます。「のし(がみ)」の下部(かぶ)には自分(じぶん) 名前(なまえ)()くこともあります。

     

    3.業者(ぎょうしゃ)配送(はいそう)(たの)場合(ばあい)は、(とど)(さき)(おく)(ぬし)住所(じゅうしょ)氏名(しめい)電話番(でんわばん) (ごう)などを所定(しょてい)用紙(ようし)記入(きにゅう)します。発送(はっそう)依頼(いらい)したら、先方(せんぽう)(ひん) 物発送(ものはっそう)挨拶状(あいさつじょう)()します。

    4. ()けとった(がわ)礼状(れいじょう)()します。

     

    Q&A

    1.

    Q ::

    中元(ちゅうげん)」や「歳暮(せいぼ)」の言葉(ことば)由来(ゆらい)(なん)ですか。

    A ::

    (むかし)中国(ちゅうごく)では1(ねん)を「上元(かみもと)」「中元(ちゅうげん)」「下元(しももと)」の3()()()け、節目(ふしめ)ごとに(いわ)風習(ふうしゅう)がありました。中元(ちゅうげん)は、日本(にほん)太陰暦(たいいんれき) *()(がつ)15(にち) のお(ぼん)()たることから、(おも)に「中元(ちゅうげん)」だけが日本(にほん)定着(ていちゃく)し、その時期(じき)贈答(ぞうとう)をも意味(いみ)するようになりました。「歳暮(せいぼ)」は文字通(もじどお)意末(いまつ)贈答(ぞうとう)意味(いみ)し、(ふる)くは、(とし)()わり()先祖(せんぞ)(れい)(むか)えて(まつ)年越(としこ)しのお(そな)(もの)のことでした。

    2.

    Q ::

    (ねん)に2(かい)(おく)(もの)をするのはなぜですか。

    A ::

    それは、江戸時代(えどじだい) 「18~19世紀中頃(せいきなかごろ) 商習慣(しょうしゅうかん)が「(ぼん)」と「()れ」を(ねん)(かい)勘定期(かんじょうき)としていたことに由来(ゆらい)しています。商取引(しょうとりひき)勘定(かんじょう)をすませ、半年間世話(はんとしかんせわ)になったことへの感謝(かんしゃ)気持(きも)ちを(あらわ) (おく)(もの)をしたことから(はじ)まりました。

    3.

    Q ::

    庶民(しょみん)(あいだ)贈答(ぞうとう)(さか)んになったのはいつごろですか。

    A ::

    明治時代(めいじじだい)後期(こうき)、20世紀(せいき)(はじ)(ごろ)からです。その(),デパ(でぱ)() 発達(はったつ)(とも)に、ますます(さか)んになりました。

    4.

    Q ::

    中元(ちゅうげん)歳暮(せいぼ)(おく)(もの)期間(きかん)はいつですか。

    A ::

    中元(ちゅうげん)は、ふつう7月初(がつはじ)めから15日頃(にちごろ)まで、また歳暮(せいぼ)は、12(がつ)10(にち) (ころ)から25日頃(にちごろ)までにすませますが、地方(ちほう)によって多少異(たしょうこと)なりま す。

    5.

    Q ::

    (おく)(もの)には、品物以外(しなものいがい)(なに)適当(てきとう)なものがありますか。

    A ::

    デパートの商品券(しょうひんけん)、また、(べい)乳製品(にゅうせいひん)(さけ)、ビール、(はな) ワイシャツ、ネクタイ、(くつ)図書(としょ)などの引換券(ひきかえけん)があります。そのほか、ホテ ルの食事券(しょくじけん)旅行券(りょこうけん)、ハウスクリーニング(けん)などを(あつか)っているデ パートもあります。

    6.

    Q ::

    友人(ゆうじん)に、手製(てせい)のテーブルセンターをお歳暮(せいぼ)(おく)りたいのですが、どのように(つつ)めばよいでしょうか。

    A ::

    適当(てきとう)(おお)きさの(はこ)()れ、その(うえ)に「のし(がみ)」をかけます。上方(じょうほう) 御歳暮(おせいぼ)」と()き、(した)自分(じぶん)名前(なまえ)()きます。それを包装紙(ほうそうし) (つつ)みますが、千代紙(ちよがみ)(つつ)めばきれいです。最近(さいきん)(おく)(もの)一般(いっぱん) 派手(はで)になりましたが、(こころ)のこもった手製(てせい)(しな)(よろこ)ばれるでしょ う。


    ชูเง็นและเซโบะ (ของขวัญกลางปีและของขวัญสิ้นปี)

    ในประเทศญี่ปุ่น มีประเพณีการมอบของขวัญปีละ 2 ครั้ง ในฤดูร้อนและฤดูหนาว เพื่อแสดงความขอบคุณต่อผู้ที่มีอุปการะคุณในยามปกติ ของขวัญที่มอบในฤดูร้อน เรียกว่า ซูเงิน (CHUUGEN) ส่วนของขวัญที่มอบในฤดูหนาว เรียกว่า เซโบะ (SEIBO) ในการสนทนาประจำวันจะเรียกว่า โอะซูเงิน (ochuugen) และโอะเซโบะ (Oscibo) แต่ดั้งเดิมเราจะไปเยี่ยมบุคคลผู้นั้นแล้วมอบของขวัญพร้อมกล่าวอวยพร แต่เนื่องจากชีวิตสมัยใหม่เต็มไปด้วยความยุ่งเหยิง ผู้คนจึงมักขอให้ทางห้าง สรรพสินค้าหรือร้านค้าที่ตนไปซื้อของขวัญช่วยส่งให้ ในช่วงระยะเวลานี้ห้าง สรรพสินค้าจะเนื่องแน่นไปด้วยผู้คนที่มาจับจ่ายซื้อของ ในระยะหลังนี้ มีแนวโน้ม ในการมอบของขวัญราคาแพงขึ้น ห้างร้านต่าง ๆ จะมีรายการอาหารมากชนิดซึ่ง เป็นของขวัญที่นิยมกันมากที่สุดโดยเฉพาะเมื่อชาวญี่ปุ่นมีแนวโน้มหันมาใส่ใจเรื่อง อาหารการกินในชีวิตประจำวันกันมากขึ้น

     

    กิจกรรม

    <<วิธีมอบซูเงินกับเซโบะ>>

    1. อันดับแรกให้คำนึงถึงผู้ที่จะรับของขวัญและสินค้าที่เหมาะสม จากนั้นก็ตั้งงบประมาณไว้

    2. ชื่อของขวัญตามห้างสรรพสินค้าหรือร้านค้า ให้ทางร้านติดโนะชิ-กะมิ (noshi-gami = แผ่นกระดาษขาวที่พิมพ์คำว่า โอะซูเงิน หรือโอะเซโบะ) บนของขวัญก่อนจะห่อ บางครั้งผู้ส่งจะเขียนชื่อไว้ด้านล่างของโนะชิ-กะมิ

    3. ในกรณีจะขอให้ทางร้านช่วยส่งของขวัญ ให้กรอกชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของทั้งผู้รับและผู้ส่งลงบนแบบฟอร์ม หลังจากติดต่อให้ช่วยส่งให้แล้วจะส่งการ์ดอวยพรถึง ผู้รับบอกกล่าวถึงการส่งของขวัญไปให้

    4. ผู้รับจะส่งจดหมายขอบคุณสำหรับของขวัญเช่นกัน

     

    คำถาม - คำตอบ

    1.

    คำถาม

    ที่มาของคำว่า ชูเง็น และเซโบะ คืออะไร

    คำตอบ

    ในประเทศจีนสมัยก่อน จะแบ่ง 1 ปีออกเป็น 3 ช่วง คือ โจเง็น (joogen) ชูเง็น (chuugen) และ คะเง็น (kagen) ถือกันเป็นประเพณีที่จะต้องฉลองการเริ่มต้นของทั้ง 3 ช่วง ชูเง็นจะตกอยู่ในช่วงเทศกาลโอะบัง (obon เทศกาลทางพุทธศาสนาสำหรับคนตาย) ตรงกับวันที่ 15 กรกฎาคม ตามปฏิทินจันทรคติในญี่ปุ่นและเฉพาะซูเง็นนี้เท่านั้นที่ฝังรากลึก ยึดถือ ปฏิบัติกันและหมายความถึงการมอบของขวัญในช่วงนั้น (ในฤดูร้อน) สำหรับเซโบะ โดยนัยของคำแล้วหมายถึงการมอบของขวัญตอนสิ้นปี ในสมัยก่อน เซโบะเป็นของเซ่นไหว้เพื่อฉลองการต้อนรับวิญญาณ บรรพบุรุษในโอกาสจะขึ้นปีใหม่

    2.

    คำถาม

    ทำไมจึงมอบของขวัญปีละ 2 ครั้ง

    คำตอบ

    เรื่องนี้สืบเนื่องมาจากประเพณีการค้าในสมัยเอะโดะ (ค.ศ. 1603 - 1868) ราวกลางศตวรรษที่ 17-19 ซึ่งจะปิดบัญชีปีละ 2 ครั้งในช่วงเทศกาล โอะบัง (obon = เทศกาลรำลึกถึงผู้ตาย) และช่วงสิ้นปีหลังจากชาระ สะสางบัญชีการค้ากันเสร็จจะมอบของขวัญแสดงความขอบคุณต่อ อุปการะคุณของลูกค้าในช่วงครึ่งปีที่ผ่านมา

    3.

    คำถาม

    การมอบของขวัญกลายเป็นที่นิยมแพร่หลายในหมู่ประชาชนทั่วไปตั้งแต่ เมื่อใด

    คำตอบ

    ราว ๆ ช่วงเริ่มต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงครึ่งหลังของสมัยเมจิ (ค.ศ. 1868-1912) และเป็นที่นิยมแพร่หลายยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ พร้อมไปกับการเกิดขึ้นของห้างสรรพสินค้า

    4.

    คำถาม

    การมอบของขวัญซูเง็นและเซโบะกระทำกันเมื่อใด

    คำตอบ

    โดยทั่วไปจะมอบโอะซูเง็นตั้งแต่ต้นเดือนกรกฎาคมจนถึงวันที่ 15 กรกฎาคม ส่วนโอะเซโบะจะเริ่มมอบจากราววันที่ 10 ธันวาคม ไปจน ถึงวันที่ 25 ธันวาคม ช่วงเวลาการมอบจะแตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น

    5.

    คำถาม

    นอกจากสิ่งของแล้วมีอะไรที่เหมาะสำหรับมอบเป็นของขวัญอีกบ้าง

    คำตอบ

    มีบัตรแลกของขวัญ คูปองแลกข้าว ผลิตภัณฑ์นม เหล้าสาเก เบียร์ ดอก ไม้ เสื้อเชิ้ต เนคไท รองเท้า หนังสือ ฯลฯ ห้างสรรพสินค้าบางแห่งจะ ขายคูปองรับประทานอาหารที่โรงแรม คูปองเดินทางหรือคูปองบริการ ทำความสะอาดบ้าน

    6.

    คำถาม

    หากต้องการมอบแผ่นปูประดับกลางโต๊ะทำด้วยมือให้แก่เพื่อนเป็นของ ขวัญโอะเซโบะ ควรจะห่ออย่างไร

    คำตอบ

    ควรนาใส่กล่องโดยคาตโนะชิ-กะมิไว้ด้านบนแล้วเขียนคำว่า “โอะเซโบะ” ไว้ตรงกลางด้านบนและเขียนชื่อของเราไว้ที่ด้านล่าง จากนั้นก็ห่อด้วย กระดาษห่อของขวัญ การห่อด้วยชิโยะ-กะมิ (chiyo-gami = กระดาษ ที่มีภาพหลากสี) จะดูสวยงามมาก แม้ของขวัญชิ้นหรูหราราคาแพงจะ เป็นที่นิยมกันในระยะหลายปีมานี้ แต่ของขวัญที่ทุ่มเททำเองด้วยมือก็ จะทำให้ผู้รับมีความยินดีเช่นกัน

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×