ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    Sakura Hana House ภาษาญี่ปุ่น น่ารู้ ง่าย ๆ

    ลำดับตอนที่ #146 : [Off.] Haiku (ไฮขุ)

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 951
      2
      5 เม.ย. 65

    B
    E
    R
    L
    I
    N
    ?

    俳句(はいく)

                ()古池(こいけ) 蛙飛(かえると)()(みず)(おと)()(芭蕉(ばしょう)) これは日本(にほん)で最も有名(ゆうめい)俳句(はいく)(ひと)つです。俳句(はいく)(うえ)(れい)から()かる

    ように、『(、「)()(しち)()()合計(ごうけい)17音節(おんせつ)表現(ひょうげん)されるきわめて(みじか)(かたち) (しき)()なのです。

                室町時代後期(むろまちじだいこうき)15世紀(せいき)~16世紀初頭(せいきしょとう)(さか)んになった()俳諧(はいかい)連歌(れんが)() 発句(ほっく) 最初(さいしょ)())が、『(、「)俳諧(はいかい)()として独立(どくりつ)し、江戸時代(えどじだい)松尾芭蕉(まつおばしょう)1644-94)らによって洗練(せんれん)された芸術性(げいじゅつせい)(あた)えられ,自然(しぜん)人生(じんせい) 融合(ゆうごう)する詩境(しさかい)をもって文芸(ぶんげい)確固(かっこ)たる位置(いち)(きず)きました。

                明治時代(めいじじだい)になり、正岡子規(まさおかしき)1867-()1902)がこの文学形式(ぶんがくけいしき)()俳句(はいく)() ()び、この名称(めいしょう)定着(ていちゃく)しました。日本人(にほんじん)(みみ)(こころよ)(ひび)()七五調(しちごちょう)()すなわち7音節(おんせつ)5音節(おんせつ)()単位(たんい)とする17音節(おんせつ)という簡潔(かんけつ)形式(けいしき)で、(だれ)にでも比較的手軽(ひかくてきてがる)にできることから、今日(きょう)では俳句人口(はいくじんこう) 1,000(まん)とも(げん) れ、外国人(がいこくじん)にも愛好者(あいこうしゃ)()えつつあります。

     

    ACTIVITY

    俳句(はいく)(あじ)わい(かた)

     

    A. (さだむ) (かた)

                ()()(しち)()()合計(ごうけい)17音節(おんせつ)構成(こうせい)されます()()(しち)()()3 部分(ぶぶん)は、それぞれが意味(いみ)(うえ)でもまとまりをもって、相互(そうご)(せき) ()っています。

    れい

    )

    ふるいけや

    かわずとびこむ

    みずのおと

    5(音節(おんせつ))

    7(音節(おんせつ))

    5(音節(おんせつ))

    B. () ()季題(きだい)

                俳句(はいく)には(かなら)()季語(きご)()(もち)いなければなりません。季語(きご)(はる)(1~3 (つき))(なつ)(4~6(がつ))(あき)(7~9(がつ))(ふゆ)(10~12(がつ))各季節(かくきせつ)風物(ふうぶつ)(おもて) 単語(たんご)、『(、「)季題(きだい)()ともいい、各季節(かくきせつ)につき(さだ)められています。この 季語(きご)(季題(きだい)) (あつ)め、分類(ぶんるい)解説(かいせつ)した書物(しょもつ)()俳句歳時記(はいくさいじき)()といい、俳句(はいく)をつくるときに参照(さんしょう)します。

                (れい)()古池(こいけ)蛙飛(かえると)()(みず)(おと)

                            (かえる)季語(きご) ((はる))

    C. ()()

                俳句(はいく) 形式(けいしき) (じょう) 意味(いみ) 区切(くぎ) ところ (もち) られる 文字(もじ) ()()() () いい ます 俳句(はいく) など 独特(どくとく) 表現(ひょうげん) 、この() ()()()によって、 俳句(はいく) ひびきが()まれ、感情(かんじょう)をいっそう(ふか)表現(ひょうげん)します。

                よく (もち)いられる ()()()() は、(つぎ)のようなもの があります。『や』『かな』『けり』『らん』『つ』『ぬ』『ず』『いかに』『か』『し』((」()形容詞(けいようし)語尾(ごび)として)など 。『(。「)()()()そのもの とくに 意味(いみ) ある わけ あり ませ

     

    (れい)()     

                (1) 古池(こいけ)(かえる) ()() (みず)(おと)

                            ()()

                (2) (はる)(うみ) 終日(しゅうじつ) のたりのたり かな (無村(むむら))

                            かな()()

                (3) (みち) のべ 木槿(きむくげ)(うま) ()われ けり ( 芭蕉(ばしょう) )

                            けり()()

     

    Q & A

    1

    Q ::

    俳句(はいく)(かなら)ず「()(しち)()」の17音節(おんせつ)でなければいけませんか。

    A ::

    原則(げんそく)は「()(しち)()」の17音節(おんせつ)ですが、部分的(ぶぶんてき)あるいは全体的(ぜんたいてき)通不足(つうふそく)がっても、過不足(かふそく) があっても、(たか)評価(ひょうか)()ている俳句(はいく)(すく)なくありません。

    ()(れい)() (すずめ) () そこのけ そこのけ (うま) (とお) 一茶(いっさ)

    2

    Q ::

    季語(きご) どんな 言葉(ことば) あり ます か。

    A ::

    時候(じこう) 天文(てんもん)地理(ちり) 生活(せいかつ)行事(ぎょうじ) 動物(どうぶつ) 植物(しょくぶつ) (かん)して、それぞれ新年(しんねん)(はる) (なつ)(あき)(ふゆ) (あらわ)季語(きご) があります

    3

    Q ::

    俳句(はいく)はどのように(たの)しみますか。

    A ::

    個人(こじん)でも、鑑賞(かんしょう)したり、自分(じぶん)(つく)ったりして (たの)しむことができますが、趣味(しゅみ)(おな)じくする(ひと)たちがグル(ぐる)()(つく)って()句会(くかい)()(ひら)いたり、『(、「)会報(かいほう)()発行(はっこう)したりするほか、一般(いっぱん)新聞(しんぶん)雑誌(ざっし)作品(さくひん)投稿(とうこう)して、掲載(けいさい)されるのを期待(きたい)するのも(たの)しいものです

    4

    Q ::

    ()句会(くかい)()ではどんなことをするのです か。

    A ::

    参加者(さんかしゃ)がそれぞれ自分(じぶん)(つく)った俳句(はいく)()()って発表(はっぴょう)したり、その()(つく)ったりして、お(たが)いの作品(さくひん)鑑賞(かんしょう)し、親睦(しんぼく)(ふか)()います。

     

    ไฮขุ

                สระน้ำอันเก่าแก่

                เจ้ากบตัวหนึ่งกระโดดลง

                เสียงน้ำพลันดังจ๋อม

                บะโซ มะทสึโอะ (Bashoo Matsuo)

                นี่คือโคลงไฮขุที่มีชื่อเสียงที่สุดบทหนึ่งของญี่ปุ่น จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า ไฮขุเป็นโคลงที่มีขนาดสั้นมากโดยมีเพียง 17 พยางค์ ประกอบไปด้วย 3 วรรค คือ วรรคละ 5, 7 และ 5 พยางค์ตามลำดับ

                บทกวีที่เรียกว่า ไฮไค-เร็งงะ (haikai-renga) เป็นที่แพร่หลายตอนปลายสมัย Mutomachi ค.ศ. 1338 – 1570 ช่วงต้นศตวรรษที่ 15 – 16 ส่วนแรก คือ 17 พยางค์ของ ไฮโคเร็งงะ เรียกกันว่า haikai ในสมัยเอะโดะ (ค.ศ. 1603 – 1868) บะโซ มะทสึโอะ (ค.ศ. 1644 – 1694) เป็นผู้สร้างขึ้นมาในวงวรรณทัศน์ในรูปแบบบทกวี โดยมีท่วงทำนองศิลปะที่ขัคเกลาประณีตที่พรรณนาถึงความสอดประสานในฉากแห่งธรรมชาติและชีวิตมนุษย์

                ในสมัยเมจิ (ค.ศ. 1868 – 1912) Shiki Masaoka ตั้งชื่อรูปแบบกวีนิพนธ์นี้ว่า ไฮขุ และมีการใช้ชื่อนี้นับแต่นั้นมา ใคร ๆ ก็สามารถแต่งโคลงไฮขุได้ค่อนข้างง่ายเนื่องจากรูปแบบคำประพันธ์สั้น ๆ ใช้เพียง 17 พยางค์ ซึ่งประกอบไปด้วยวรรคที่มี 7 พยางค์ กับ 5 พยางค์ จังหวะ 5, 7 พยางค์ ฟังไพเราะให้ความรู้สึกที่ดีกับคนญี่ปุ่น ในปัจจุบันมีชาวญี่ปุ่นที่นิยมแต่งไฮขุถึง 10 ล้านคน และชาวต่างประเทศที่รักการแต่งไฮขุก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ

    กิจกรรม

    <<วิธีชื่นชมโคลงไฮขุ>>

    ก. เทเค (Teikei = รูปแบบ)

                ประกอบด้วย 3 วรรค คือวรรคละ 5, 7 และ 5 พยางค์ตามลำดับรวม 17 พยางค์ แต่ละวรรคจะมีความหมายเป็นอันหนึ่งอันเดียวและจะเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวรรคอื่นด้วย

    ตัวอย่าง :

    Furu ike ya

    5 พยางค์

    สระน้ำอันเก่าแก่

    Kawazu tobi – komu

    7 พยางค์

    เจ้ากบตัวหนึ่งกระโดดลง

    Mizu no oto

    5 พยางค์

    เสียงน้ำพลันดังจ๋อม

     

    ข. คิโงะ(Kigo = คำแสดงฤดูกาล)

                โคลงไฮขุทุกโคลงต้องมีคำแสดงฤดูกาล เป็นคำซึ่งแสดงธรรมชาติหรือวัตถุสิ่งของของแต่ละฤดูกาล (ฤดูใบไม้ผล เดือนมกราคม – มีนาคม ฤดูร้อน เดือนเมษายน – มิถุนายน ฤดูใบไม้ร่วง เดือนกรกฎาคม – กันยายน และฤดูหนาว เดือนตุลาคม – ธันวาคม) คิโงะ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Kidai เป็นคำที่ถูกกำหนดไว้แล้วในแต่ละฤดูกาล หนังสือชื่อ Haiku – saijiki เป็นพจนานุกรมที่รวบรวมคำแสดงฤดูกาล มีการแบ่งแยกประเภทรวมทั้งวิเคราะห์และอธิบายไว้ด้วย เป็นหนังสืออ้างอิงสำหรับการเขียนโคลงไฮขุ

    ตัวอย่าง :

                สระน้ำอันเก่าแก่

                เจ้ากบตัวหนึ่งกระโดดลง

                เสียงน้ำพลันดังจ๋อม

    ในโคลงบทนี้ คำว่า “กบ” เป็นคำแสดงฤดูกาลสำหรับฤดูใยไม้ผลิ

     

    ค. คิเระจิ (Kireji = คำแบ่งวรรคตอนของความหมาย)

                ตัวอักษรที่วางในตำแหน่งแบ่งวรรคตอนของความหมายของไฮขุ เรียก คิเระจิ คิเระจิเป็นลักษณะเฉพาะของไฮขุ คิเระจิจะช่วยให้ไฮขุมีจังหวะจะโคนเสียงกัววานรวมทั้งแสดงความรู้สึกของไฮขุลึกซึ้งยิ่งขึ้น คิเระจิที่ใช้กันบ่อย คือ “ยะ” “คะนะ” “เคะริ” “รัง” “ทสึ” “นุ” “อิคะนิ” “คะ” และ “ชิ” (รูปลงท้ายของคำคุณศัพท์) เป็นต้น ลำพังคิเระจิเองไม่ได้มีความหมายอะไร

    ตัวอย่าง :

                (1.)       Furu ikeya kawazu tobi-komu mizu no oto.

                สระน้ำอันเก่าแก่ / เจ้ากบตัวหนึ่งกระโดดลง / เสียงน้ำพลันดังจ๋อม

                (2.)       Haru no umi hinemosu notary notary kana.

                ทะเลฤดูใบไม้ผลิ – ตลอดทั้งวันคลื่นแผ่วเบา / คลื่นซัดอย่างแผ่วเบา

                (3.)       Michinobe no mukuge wa uma ni kuware keri.

                ซึ่งอยู่สองข้างทาง / ดอกบานเช้าบานเบ่งไปทั่ว / ม้ากินไปเสียสิ้น

     

    คำถาม – คำตอบ

    1

    Q ::

    โคลงไฮขุต้องประกอบด้วย 17 พยางค์ (5, 7, 5) เสมอไปหรือไม่

    A ::

    โดยกฎพื้นฐานประกอบด้วย 17 พยางค์ อย่างไรก็ตาม มีโคลงไฮขุจำนวนไม่น้อยที่ถือกันว่ามีคุณค่าสูงแม้ว่าในบางวรรคหรือทั้งโคลงจะมีจำนวนพยางค์มากเกินไปหรือขาดหายไปบ้าง

    ตัวอย่าง :: Suzume no ko soko noke soko noke ouma ga tooru (20 พยางค์)

    (เจ้าลูกนกกระจอก / ออกไป ออกไปให้พ้นทาง / ม้ากำลังจะผ่าน)

    2

    Q ::

    คำแสดงฤดูกาลมีคำอะไรบ้าง

    A ::

    มีคำที่เกี่ยวข้องกับฤดู ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ชีวิตประจำวัน งานเทศกาล สัตว์ และพืช ซึ่งแต่ละคำแสดงหรือบ่งบอกให้รู้ว่าเป็นปีใหม่ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว

    3

    Q ::

    จะเพลิดเพลินกับไฮขุอย่างไร

    A ::

    เราสามารถเพลิดเพลินเป็นการส่วนตัว อ่านผลงานของคนอื่น หรือแต่งไฮขุของเราเอง นักแต่งไฮขุเป็นงานอดิเรกจะมารวมกันกันจัด Kukai = งานประชุมโครงไฮขุ หรือจัดพิมพ์นิตยสารไฮขุ นับเป็นความสนุกสนานหากได้ส่งโคลงไฮขุแล้วรอคอยการลงพิมพ์ในคอลัมน์ไฮขุของหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร

    4

    Q ::

    ผู้ที่มาในงานประชุมโคลงไฮขุทำอะไรกันบ้าง

    A ::

    ผู้ที่มาร่วมงานจะรวบรวมนำผลงานของตนเองออกแสดงบ้าง แต่งบทโคลงไฮขุใหม่ ๆ บ้าง แลกเปลี่ยนผลัดกันชื่อชมโคลงของแต่ละฝ่ายเป็นการสร้างเสริมมิตรภาพให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×