คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #19 : อาชีพและตำแหน่งหน้าที่การงาน
อาชีพและตำแหน่งหน้าที่การงาน
ในบทนี้จะพูดถึงอาชีพและตำแหน่งหน้าที่การงานต่าง ๆ โดบแบ่งคำศัพท์ที่เกี่ยวกับอาชีพนั้น ๆ ออกเป็นหมวดหมู่เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ
ธุรกิจการค้า
นักธุรกิจ ビジネスマン Bijinesuman |
พ่อค้าแม่ค้า 商人 Shounin |
ร้านขายของ 売店 Baiten |
ห้างสรรพสินค้า デパート Depaato |
กระเป๋า かばん Kaban |
เครื่องประดับ アクセサリー Akusesarii |
รองเท้า 靴 Kutsu |
ร้านอาหาร レストラン Resutoran |
โรงแรม ホテル Hoteru |
ร้านขายยา 薬局 Yakkyoku |
ร้านเสริมสวย 美容院 Biyouin |
ส่วนลด 割引 Waribiki |
พนักงานขาย 店員 Tenin |
ประชาสัมพันธ์ 受付 Uketsuke |
เครื่องใช้ไฟฟ้า 電気製品 Denkiseihin |
เครื่องเขียน 文房具 Bunbougu |
นาฬิกา 時計 Tokei |
แว่นตา めがね Megane |
เกษตรกรรม
เกษตรกร 棒民 Noumin |
ครอบครัวเกษตรกร 農家 Nouka |
ปุ๋ย 肥料 Hityou |
สวนผัก 菜園 Saien |
พื้นที่เพาะปลูก 農地 Nouchi |
คนรีดนมวัว 酪農家 Rakunouka |
พืชผลทางการเกษตร 作物 Sakumotsu |
ทุ่งนา 畑 Hatake |
รั้ว 垣根 Kakine |
รั้วต้นไม้ 生け垣 Ikegaki |
รถแทรกเตอร์ トラクター Torakutaa |
|
คำศัพท์ |
อักษรโรมันจิ |
ความหมาย |
納屋 |
Naya |
โรงนา |
家畜 |
Kachiku |
ปศุสัตว์ |
酪農場 |
Rakunoujou |
ฟาร์มโคนม |
除草剤 |
Josouzai |
ยาฆ่าหญ้า |
อุตสาหกรรม
วิศวกร エンジニア Enjinia |
โรงงาน 工場 Koujou |
ผู้ใช้แรงงาน, กรรมกร 労働者 Roudousha |
เครื่องจักร 機械 Kikai |
งานก่อสร้าง 工事 Kouji |
อิฐ 煉瓦 Renga |
ท่อนไม้ 材木 Zaimoku |
ปูนซีเมนต์ セメント Semento |
คอนกรีต コンクリート Konkuriito |
คำศัพท์ |
อักษรโรมันจิ |
ความหมาย |
コンクリートウォール |
Konkuriito wooru |
กำแพงคอนกรีต |
コンクリートミキサー |
Konkuriito mikisaa |
เครื่องผสมคอรกรีต |
コンクリートブロック |
Konkuriito burokku |
บล็อกคอนกรีต |
政管工場 |
Seikankoujou |
โรงงานผลิตกระป๋อง |
製鉄工場 |
Seitetsukoujou |
โรงงานผลิตเหล็ก |
自動車工場 |
Jidoushakoujou |
โรงงานผลิตรถยนต์ |
บริกร
บุรุษไปรษณีย์ 郵便配達人 Yuubinhaitatsujin |
แสตมป์ 切手 Kitte |
จดหมาย 手紙 Tegami |
ซองจดหมาย 封筒 Fuutou |
ที่อยู่ 住所 Juusho |
รหัสไปรษณีย์ 郵便番号 Yuubinbangou |
ตู้ไปรษณีย์ 郵便ポスト Yuubinposuto |
กล่องรับจดหมาย 郵便受け Yuubinuke |
พัสดุ 小包 Kodutsumi |
บันเทิง
ผู้กำกับ 監督 Kantoku |
ภาพยนตร์ 映画 Eiga |
โรงภาพยนตร์ 映画館 Eigakan |
จอภาพยนตร์ スクリーン Sukuriin |
นักแสดงชาย 男優 Danyuu |
นักแสดงหญิง 女優 Joyuu |
คำศัพท์ |
อักษรโรมันจิ |
ความหมาย |
案内係 |
Annaigakari |
พนักงานเดินตั๋ว |
映写室 |
Eishashitsu |
ห้องฉายภาพยนตร์ |
映写機 |
Eishaki |
เครื่องฉายภาพยนตร์ |
シーン |
Shin |
ฉาก |
ข้อสังเกต
ชาวญี่ปุ่นนั้นมีธนนมเนียมปฏิบัติที่สืบทอดกันมายาวนาน ก็คือการให้ “นามบัตร” หรือ 名刺 (meishi) มักจะให้นามบัตรของตนแก่ผู้อื่นเมื่อมีการพบกันหรือติดต่อธุรกิจกันเป็นครั้งแรก ในนามบัตรนอกจากจะมีชื่อของตนแล้ว โดยปกติก็จะมีชื่อของบริษัทหรือหน่วยงาน ห้างร้านที่จนสังกัดอยู่ นอกจากนี้ยังมี ชื่อตำแหน่งงาน และที่อยู่ของบริษัทหรือหน่วยงานของจน พร้อมทั้งหมายเลขโทรศัพท์และหมายเลขโทรสารเพื่อสะดวกในการติดต่อ
ตำแหน่งของพนักงานในบริษัท
คำศัพท์ |
อักษรโรมันจิ |
ความหมาย |
社長 |
Shachou |
ประธานบริษัท |
副社長 |
Fukushachou |
รองประธานบริษัท |
部長 |
Buchou |
ผู้จัดการฝ่าย |
課長 |
Kachou |
ผู้จัดการแผนก |
経理部長 |
Keiribuchou |
ผู้จัดการฝ่ายบัญชี |
市場開発部長 |
Shijoukaihatsubuchou |
ผู้จัดการฝ่ายการตลาด |
営業部長 |
Eigyoubuchou |
ผู้จัดการฝ่ายขาย |
法務部長 |
Houmubuchou |
ผู้จัดการฝ่ายกฎหมาย |
顧客サーブス部長 |
Kokyakusaabusubuchou |
ผู้จัดการฝ่ายบริการลูกค้า |
人事部長 |
Jinjibuchou |
ผู้จัดการฝ่านบุคคล |
秘書 |
Hasho |
เลขานุการ |
会社員 |
Kaishain |
พนักงานบริษัท |
旧社員 |
Kyuushain |
พนักงานเก่า |
新入社員 |
Shinnyuushain |
พนักงานใหม่ |
正社員 |
Seishain |
พนักงานประจำ |
平社員 |
Hirashain |
พนักงานทั่วไป |
非正規社員 |
Hiseikishain |
พนักงานชั่วคราว |
名誉会長 |
Meiyokaichou |
ประธานกิตติมศักดิ์ |
常務取締役 |
Joumutorishimariyaku |
กรรมการผู้จัดการ |
取締役副社長 |
Torishimariyakufukushachou |
รองกรรมการผู้จัดการ |
会長 |
Kaichou |
ประธานกรรมการ |
取締役副会長 |
Torishimariyaku |
รองประธานกรรมการ |
委員会 |
Iinkai |
คณะกรรมการ |
เรื่องน่ารู้
เมื่อพนักงานใหม่เพิ่งเข้ามาทำงานบริษัทเป็นครั้งแรก โดยทั่วไปแล้วบริษัทส่วนใหญ่จะจัดพิธีต้อนรับพนักงานใหม่ หรือที่เรียกว่า 入社式 (nyuushashiki) โดยพนักงานที่เพิ่งเข้ามาใหม่นั้น จะต้องเข้ารับการฝึกอบรมซึ่งมักใช้เวลาประมาณ 1 เดือนขึ้นไป เพื่อให้พนักงานที่เข้ามาใหม่นั้นได้มีพื้นฐานข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับบริษัท เช่น มารบาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น วิธีดูแลรักษาสุขภาพ เป็นต้น
รู้หรือไม่ ?
ในบริษัทญี่ปุ่นจะมีการจ่างเงินโบนัส หรือที่เรียกว่า ボーナス (boonasu) ให้แก่พนักงานบริษัท โดยเฉลี่ยนปีละ 2 ครั้ง คือ ในช่วงฤดูร้อนและช่วงสิ้นปี เงินโบนัสที่ทางบริษัทได้จ่ายให้นั้น ก็คือ เงินก้อนจำนวนหนึ่งที่เป็นรายได้ของพนักงานเอง โดยจำนวนโบนัสที่ทางบริษัทได้ต่ายให้กับพนักงานในแต่ละคนนั้นจะมากน้อยแตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละบริษัทและระยะเวลาการทำงานของพนักงาน ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว พนักงานจะได้รับเงินโบนัสประมาณ 5 เท่าของเงินเดือน
ความคิดเห็น