มารู้จัก ไอดี (Industrial Design) - มารู้จัก ไอดี (Industrial Design) นิยาย มารู้จัก ไอดี (Industrial Design) : Dek-D.com - Writer

    มารู้จัก ไอดี (Industrial Design)

    ชื่อภาษาไทยของภาควิชานี้มีหลายชื่อนะ จะเป็นออกแบบผลิตภัณฑEศิลปอุตสาหกรรม หรือจะเป็นออกแบบอุตสาหกรรม ชื่อมันก็แปลได้ตรงตัวนะ Design ...

    ผู้เข้าชมรวม

    36,793

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    2

    ผู้เข้าชมรวม


    36.79K

    ความคิดเห็น


    210

    คนติดตาม


    12
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  4 มิ.ย. 48 / 13:33 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ
      บทความโดย พี่ตาล b]


      มารู้จัก ไอดี (Industrial Design) กัน
      ชื่อภาษาไทยของภาควิชานี้มีหลายชื่อนะ จะเป็นออกแบบผลิตภัณฑEศิลปอุตสาหกรรม หรือจะเป็นออกแบบอุตสาหกรรม ชื่อมันก็แปลได้ตรงตัวนะ Design ก็แปลว่าการออกแบบ เป็นศาสตรEางด้านศิลปะ Industrial ก็แปลว่าอุตสาหกรรม หากจะรวมความหมายเป็นคำจำกัดความแล้ว ในตำราเขาเขียนขยายความเอาไว้ว่า ไอดี มันเป็นการรวมกันระหว่างศาสตรE2 แขนง คือ วิทยาศาสตรEกับศิลปะ เราจะอยู่ตรงกลางระหว่าง 2 ศาสตรEีEถ้าศิลปะมากไป เราก็จะเรียกงานMaster Piece ถ้าหากไปทางเส้นอุตสาหกรรม เขาจะเรียกว่า Mass Product
      - งาน Master Piece คืองานที่ผลิตออกมาได้จำนวนน้อย Eเช่นพวกงานหัตถกรรมหรืองานHand Madeนั่นเอง
      - งาน Mass Product คืองานที่ผลิตออกมาได้จำนวนมาก Eขึ้นอยู่กับต้นทุนเพื่อให้ได้ผลกำไรให้ได้มากที่สุด จะอยู่ในด้านของธุรกิจซะเป็นส่วนใหญEเช่น ขันพลาสติก ทำชิ้นเดียวคงไม่มี ทำทีก็ทำเป็น1000 ใบ
      รู้จักไอดีไปแค่ไหนแล้วค่ะ ไปดูกันต่อว่าไอดีเปิดสอนที่ไหนกันบ้าง
      - คณะสถาปัตยกรรมศาสตรEจุฬาลงกรณEหาวิทยาลัย
      - คณะมัณฑนศิลปEมหาวิทยาลัยศิลปากร
      - คณะศิลปกรรมศาสตรEมหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ ประสานมิตร
      - คณะสถาปัตยกรรมศาสตรEมหาวิทยาลัยเทคโนลียีพระจอมเกล้าธนบุรี
      - คณะสถาปัตยกรรมศาสตรEสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
      - คณะครุศาสตรEุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
      - คณะสถาปัตยกรรมศาสตรEมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
      - คณะศิลปกรรมศาสตรEมหาวิทยาลัยรังสิต
      จะสังเกตเห็นจากชื่อคณะที่พี่เขียนไว้นะว่ามันไม่ได้อยู่แต่แค่ในสถาปัตยEย่างที่หลายคนเข้าใจ พี่กำลังจะหมายความว่าไอดีไม่ได้จบมาเป็นสถาปนิก แต่เราจบมาเป็นนักออกแบบหรือดีไซนEนอรEั้นเอง (หยุดคิดที่จะนำไอดีมารวมกับสถาปัตยEะเพราะมันคนละเรื่องกัน) ไอดีไม่มีความจำเป็นที่ต้องเรียนเขียนแบบบ้าน แต่เรามีความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่ต้องเรียนเขียนแบบอุตสาหกรรมแบบวิศวะน่ะ


      มาดูกันต่อนะว่าไอดีมีสาขาวิชาอะไรแตกออกไปบ้าง

      1. Industrial Design หรือ Product Design
      มันมีกระบวนการเรียนคล้าย Eกันนะ แต่มันแตกต่างนิดนึงที่ว่า Product อาจจะเป็น Master Piece หรือ Mass Product ก็ไดEแต่ถ้าหากขึ้นชื่อว่า Industrial แล้วยังไงก็ต้องเป็น Mass Product แน่นอน
      (ลาดกระบังเรียนวิชานี้เป็นวิชาหลัก เราต้องเรียนต่อเนื่อง 7 ตัวไปจนถึงปี 5 ใครตกก็ต้องเรียนซ้ำชั้น ก็อยู่ต่อกันไปเรื่อย Eจนกว่าจะผ่าน กระบวนการเรียนขยายออกไปกว้าง E
      - เริ่มจากตอนปีสองจะเรียนเกี่ยวกับค้นคว้าหาความต้องการของผู้บริโภคและทำให้ตอบโจทยEับความต้องการนั้น Eให้ไดEโดยเพิ่มเรื่องแรงบันดาลใจ(Inspiration)และกระบวนการแตกความคิด (Mind Maping) มีแบบจำลองเหมือนจริง(Model) และการนำเสนองาน(Presentation)ที่สามารถเข้าใจง่าย
      - ปี 3 จะเน้นเกี่ยวกับการเขียนแนวความคิด(Concept)ให้น่าสนใจมากขึ้นโดยยังคงต้องมีแรงบันดาลใจอยู่หากแต่จะเน้นไปทางการเขียนกระบวนการผลิต(Process)ที่ชัดเจน เขียนแบบ(Refinement)เป็นทศนิยม 2 หลักและเน้นเป็นที่สุดตรงแบบจำลองของจริง(Model Prototype)
      - ปี 4 จะเรียนออกแบบรถ(Transportation) ออกแบบผลิตภัณฑEางสถาปัตยกรรม(Architectural Product) และ ผลิตภัณฑEี่เน้นแนวความคิดแบบใหมEEInnovation Product)โดยจะเลือกเรียน1ใน3
      - ปี 5 ปีสุดท้ายเรียนการออกแบบเพื่อผู้บริโภคพิเศษ เช่นคนพิการ เน้นแนวความคิดเพื่อตอบสนองผู้บริโภคพิเศษให้มากที่สุด โดยขนาดงานจะใหญ่มีหลายชิ้นเพื่อครอบคุมความต้องการที่มากขึ้นด้วย)

      2. Furniture Design
      ออกแบบเฟอรEิเจอรEต้องรู้ทั้งกระบวนการผลิต กระบวนการออกแบบ การสร้างแนวทางการออกแบบ ซึ่งเน้นว่าเพื่ออุตสาหกรรมนะ หากน้อง Eจะมองก็มองเฟอรEิเจอรEป็นหน่วยง่าย Eคือ ส่งออกกับขายในประเทศ ถ้าหากเป็นพวกเก้าอี้ที่ขายตามร้านเฟอรEิเจอรE้างทางก็จะมีต้นทุนต่ำขายในประเทศ มีการออกแบบที่ไม่ยุ่งยากเนื่องจากกำลังซื้อไม่มาก แต่หากเป็นผู้ผลิตและตัวแทนจัดจำหน่าย เช่นXOHOของโมเดิรEฟอรE หรือ โยธกา หรือยี่ห้อต่าง Eเป็นงานต้นทุนสูงต้องใช้การออกแบบหลายขั้นตอนซึ่งได้มากับเฟอรEิเจอรEพื่อการส่งออก

      3. Ceramic Design
      ออกแบบเครื่องปั้นดินเผา ประเภทของเซรามิกมีมากมายนะ และกระบวนการทำก็ยุ่งยากด้วย เพราะฉะนั้นหากจะออกแบบก็ต้องคำนึงถึงกระบวนการผลิต ยกตัวอย่างเช่น การะขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน การขึ้นรูปด้วยการขด การขึ้นรูปด้วยการหล่อ และยังมีกระบวนการเคลือบที่ยุ่งยาก แต่รับรองเลยว่าเซรามิกเป็นผลิตภัณฑEี่สวยงามด้วยตัวของมันเอง จากเนื้อแท้ที่มันจะเป็น อธิบายยากต้องลองเรียนดู

      4. Textile Design
      ออกแบบลายผ้า ปัจจุบันกรุงเทพฯเป็นเมืองแฟชั่นทำให้กระแสทางด้านของเรื่องผ้าเป็นที่ตื่นตัวนะ โดยเฉพาะการออกแบบลายผ้าด้วยแล้ว ทั้งการทอ การสกรีน ทำเขียนบาติก การมัดย้อมในแบบต่าง Eและการออกแบบเพื่อแฟชั่น มันเหมือนจะง่ายนะแต่มันละเอียดอ่อนมากเนื่องจากการทำแพทเทิรEให้สวยเนี่ยยาก ไหนจะเรื่องสี ไหนจะเรื่องเส้นใยแบบต่าง Eที่เหมาะกับการใช้งานที่แตกต่างกันไป

      5. Graphic Design & Packaging Design
      ออกแบบกราฟฟิกกับออกแบบบรรจุภัณฑE้องเรียนต่อเนื่องกันนะ แต่มันแตกต่างกันโดยสิ้นเชิงเนื่องจากว่า กราฟฟิกเป็นการ 2 มิติแต่การบรรจุภัณฑEป็นงาน 3 มิติ บางคนชอบกราฟฟิกแต่ก็ไม่ชอบแพกเก็จจิ้งก็มี งานกราฟฟิกจะเป็นพวกงานโลโกEงานExterior Design การนำเสนองาน การโฆษณาพวกแผ่นพับ ป้ายโฆษณา หรือสิ่งพิมพE่าง Eส่วนออกแบบบรรจุภัณฑEะเป็นพวกหีบห่อถุงต่าง Eรวมไปถึงประเภทกล่อง ขวด ซึ่งจะมีรูปฟอรEต่าง Eที่สวยงามแตกต่างกันไปตามผลิตภัณฑEั้น Eยกตัวอย่างเช่น กล้วยกวนหนึ่งห่อต้องอาศัยกล่องใสEถุงใสEแผ่นเชิญชวนให้มาซื้อ ซึ่งต้องอาศัยสาขานี้รวมกันทั้งสิ้น

      6. Metal Design
      ออกแบบงานโลหะ สาขานี้ยังไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลายมากสำหรับการเรียนในประเทศไทย งานทางสาขานี้จะเน้นหนักไปทางเหล็กและวัสดุนอกกลุ่มเหล็กเช่นอะลูมิเนียม หรือทองเหลือง ซึ่งกระบวนการผลิตก็มีทั้งการหล่อ การตีขึ้นรูป การปั้ม เป็นต้น ซึ่งการออกแบบก็ต้องคำนึงถึงการผลิตอีกเช่นเคยนะ ผลิตภัณฑ์จะเป็นเช่นกEกน้ำ เชิงเทียน ถังขยะ ช้อนส้อมฯลฯ แต่เมททอลดีไซนEตกต่างจากสาขาอื่นตรงที่ว่าสาขาไปเรียนต่อได้ในสาขาวิชาจิวเวอรี่นี้ไดEมันดูคนละเรื่องเลยนะหากจะเอากEกน้ำกับสร้อยคอมารวมกัน แต่มันก็ความคล้ายกันอยู่ในจุดหนึ่ง

      สาขาการเรียนที่เล่ามาบางสถาบันก็มีบางสถาบันก็ไม่มี (แต่ทั้งหมดมีในลาดกระบังจึงเล่าได้เต็มปาก) หากมีสาขาใดที่ตกหล่นไปก็ขอโทษด้วย (การเรียนที่ลาดกระบัง เราจะเรียนทั้งหมด(ข้อ2-6)ก่อนในตัวที่หนึ่งจากนั่นขึ้นปี3ให้เลือกเรียน3ใน5จากนั่นตัดตัวที่ไม่ถนัดออกจนเหลือตัวสุดท้ายในตอนปี5 ที่บังคับให้เป็นวิทยานิพนธEหากจะไม่เลือกก็สามารถเลือกจบวิชาไอดีไดE

      ลองมองไปรอบ ๆตัว ทุกอย่างคือผลิตภัณฑ์ได้รับการออกแบบ มันจะสวยและสะดวกสบายแค่ไหน เราจะชอบและจะใช้ได้ทนแค่ไหน นั่นอยู่ที่การออกแบบแล้ว  ไอดีในปัจจุบันเป็นที่ต้องการมากเนื่องจากอุตสาหกรรมกำลังเติบโตและเราก็ต้องผลิตจำนวนคนให้มารองรับกับมันให้ไดE

      ไอดีไม่ไช่จะเหมาะกับทุกคน แต่ก็ไม่ใช่ว่าเราจะเหมาะสมกับการเรียนวิชานี้ไม่ไดEเริ่มจากที่ต้องมีความคิดสร้างสรรคEมีจินตนาการ มีการมองโลกในแง่ดี(Positive thinking) และมีความฝัน “ออกแบบ”ชีวิต วางแนวทางแห่งการเริ่มต้นและหนทางแห่งการดำเนินต่อ  มันมีวิธีและครรลองของมันเอง น้อง Eม.6เป็นเด็กที่กำลังจะโต จะต้องคิดและตัดสินใจเองให้ไดEnbsp; แต่ก็ใช่ว่าตัดสินใจผิดแล้วจะเริ่มต้นใหม่ไม่ไดEเพราะฉะนั้น การเรียนที่ดีคือต้องเรียนแล้วมีความสุข อยู่กับมันแล้วชีวิตน้อง จะสดใส ทำความเข้าใจและตัดสินใจ

      การเรียนไอดีหนักอยู่ก็จริงแต่ถ้าหากมีการแบ่งเวลาและจัดสรรมันให้ดี จะเรียนอะไรก็ไม่ใช่เรื่องยากเลย อยู่ที่ตัวเองแล้ว เรียนก็ไม่จำเป็นต้องอดนอน มีหนังสือเล่มหนึ่ง พี่ไปอ่านเจอ เขาบอกให้เราทำความเข้าใจกับคำสั่งให้ดี และเลือกที่จะเริ่มทำงานชิ้นใหญ่ซะก่อน ถ้าเราปล่อยเวลาให้ผ่านไปมันก็ไม่เกิดอะไรขึ้น เพียงแต่เราลองจำปากกาแล้วเขียนคำสั่งหรือโจทยEงไป มันก็ทำให้เรา  ได้ทำให้งานเป็นรูปธรรมแล้ว การเรียนจะต้องขยัน เรามาเรียนไม่ได้มาเล่น เป็นมหาวิทยาลัยต้องรับผิดชอบตัวเอง การทำงานที่แท้จริงมันคือการเข้าใจโจทยEละรีบลงมือทำให้ดีให้ออกมาอย่างที่คิดไว้นั่นแหล่ะเด็กไอดี

      “ไอดีอาจไม่ใช่ทั้งหมดที่สร้างโลก แต่ไอดีทำให้โลกมีความก้าวหน้าและงดงามไปพร้อม ๆกัน

      บทความโดย พี่ตาล b]

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×