วิทยาลัยศาสนศึกษา มหิดล - วิทยาลัยศาสนศึกษา มหิดล นิยาย วิทยาลัยศาสนศึกษา มหิดล : Dek-D.com - Writer

    วิทยาลัยศาสนศึกษา มหิดล

    ขอแนะนำน้อง ๆ ควรเลือกคณะที่น้องอยากเรียนจริง ๆ วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

    ผู้เข้าชมรวม

    6,371

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    6

    ผู้เข้าชมรวม


    6.37K

    ความคิดเห็น


    30

    คนติดตาม


    0
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  28 มี.ค. 48 / 11:11 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    นิยายแฟร์ 2024
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ
      บทความนี้ส่งโดย Surasak Silawanna


      ขอแนะนำน้อง ๆ ควรเลือกคณะที่น้องอยากเรียนจริง ๆ

      วิทยาลัยศาสนศึกษา  มหาวิทยาลัยมหิดล
      The College of Religious Studies At Mahidol University
      หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาศาสนศึกษา (ปรัชญา-ศาสนา)
      http://www.crs.mahidol.ac.th
      สายงานได้เหมือนกับ คณะศิลปศาสตร์ ทั่วไป
      สำหรับน้องที่ยื่นคะแนนเอนท์ติดแล้วจะต้องสอบข้อเขียนและสัมภาษณ์กับทางวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่งด้วย
      โดยวันเวลาสามารถสอบถามได้กับทางวิทยาลัย

      ประวัติความเป็นมา
      วิทยาลัยศาสนศึกษา
      เป็นหน่วยงานสังกัดมหาวิทยาลัยมหิดลจัดตั้งตามมติของสภามหาวิทยาลัย ในการประชุม
      ิครั้งที่ 307 วันที่ 18 สิงหาคม 2542 โดยมีวิวัฒนาการมาจากโครงการศูนย์ศาสนศึกษา
      ซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2540
        ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา วิทยาลัยฯได้รับ
      การสนับสนุนด้านการเงินจากองค์กรเอกชนและด้านการเรียนการสอน จาก
      คณาจารย์ภาควิชาต่างๆในมหาวิทยาลัยมหิดล และจาก มหาวิทยาลัย ต่างๆ
      ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
        วัตถุประสงค์สำคัญของวิทยาลัย คือ 1)เพื่อผลิต
      บัณฑิตสำหรับเป็นครูอาจารย์สอนศาสนาและจริยธรรมในโรงเรียน ประถม ศึกษามัธยมศึกษา 2)
      เพื่อส่งเสริมให้คนที่นับถือศาสนาต่างกันได้ ศึกษา
      และเข้าใจคำสอนของศาสนาที่ตนและผู้อื่นนับถืออยู่ความรู้นี้จะช่วย
      ให้้สามารถอยู่ในสังคม เดียวกันได้อย่างสงบสุข และร่วมมือกันสร้างสรรคความ
      เจริญก้าวหน้าให้แก่สังคมไทยและชุมชนโลก
      ในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว
      วิทยาลัยได้เปิดสอนวิชาศาสนศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรีและหลัง
      ปริญญาโดยเปิดรับทั้งพระสงฆ์และฆราวาส

      วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
      1. ผลิตบัณฑิตสำหรับเป็นครู อาจารย์สอนวิชาศาสนาต่างๆ ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
      2. ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจศาสนาที่นับถืออยู่อย่างลึกซึ้ง
      ความรู้ความเข้าใจนี้จะเป็นพื้นฐาน สำคัญของการสร้างจริยธรรมและคุณธรรมที่ดีงาม
      ให้มีอยู่ในตัวซึ่งจะเป็นประโยชน์ทั้งแก่ตัวเอง ผู้อื่นและสังคม
      3. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ศาสนาต่างๆ ทั้งในด้านประวัติ และพิธีกรรม
      ความรู้นี้จะทำให้มีจิตใจเปิดกว้าง และเข้าใจศาสนิกชนที่นับถือศาสนาต่างกันมากขึ้น
      4. เตรียมนักศึกษาไว้สำหรับศึกษาวิชาศาสนาในระดับหลังปริญญา

      คณาจารย์ประจำหลักสูตร
      ศาสตราจารย์ ดร.คุณหญิงสุริยา รัตนกุล Ph.D. Universite de Paris (Sorbonne)
      ศาสตราจารย์ ดร.วิสุทธิ์ ใบไม้  Ph.D. Queensland University , Australia
      ศาสตราจาย์ ดร.จิรโชค วีระสัย  Ph.D. University of California , USA
      รองศาสตราจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล Ph.D. Yale University , USA.
      รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา อ่อนค้อม  Ph.D. Magadh University, India
      ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ บรรณรุจิ  Ph.D. Magadh University, India
      ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐานิสร์ ชาครัตพงษ์  M.A. Banaras Hindu University ,India
      ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทธพร รัตนกุล  M.A. Eastern Washington University
      Phra Dr.Anil Sakya  Ph.D. Brunel University , Uxbridge , Middlesex , United
      Kingdom
      Dr. U Kyaw Than  Ph.D. The Southeast Asia Graduate School of Theology
      Dr.Louise Ann Nelstrop Ph.D. The University of Birmingham
      Dr.Ramon Radjinder Sewnath  Ph.D. University of Hawaii

      คณาจารย์พิเศษ
      พระธรรมคุณาภรณ์ Ph.D.
      พระครูปลัดสัมพิพัฒนวิริยาจารย์  Ph.D.
      ศาสตราจารย์เกียรติคุณ น.พ.ประเวศ วะสี  Ph.D., พ.บ.
      ศาสตราจารย์ น.พ.สมพล พงศ์ไทย  Ph.D., พ.บ.
      ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ โศภน Ph.D. University of California , USA.
      ศาสตราจารย์ ดร.ประพนธ์ วิไลรัตน์  Ph.D. Oregon University
      รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยพงษ์ สิทธิคง  Ph.D. University of Southampton, England
      รองศาสตราจารย์ ดร.สมโภชน์ ศรีโกสามาตร  Ph.D.University of Florida , USA.
      รองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ พาณิชพันธ์  Ph.D. King College , London
      ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โอม หุวะนันทน์  Ph.D. The University of New South Wales-
      Australian Defense Force Academy , Australia
      อาจารย์ ดร. อุดม จันทรารักษ์ศรี  Ph.D. Cornell University, U.S.A.
      ดร.อณัส อมาตยกุล  Ph.D. Aligarhmuslim ,India
      นายแพทย์เอกชัย จุละจาริตต์  พ.บ. มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์


      บทความนี้ส่งโดย Surasak Silawanna

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×