ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    • ฟอนต์ THSarabunNew
    • ฟอนต์ Sarabun
    • ฟอนต์ Mali
    • ฟอนต์ Trirong
    • ฟอนต์ Maitree
    • ฟอนต์ Taviraj
    • ฟอนต์ Kodchasan
    • ฟอนต์ ChakraPetch
About Equilibrium! มารู้เรื่องสมดุลกลกันเถอะ

ลำดับตอนที่ #10 : ::ค่ามอดูลัสของยัง::Young's modulus

  • อัปเดตล่าสุด 13 ก.พ. 56


มอดูลัสของยัง (Young's modulus)
 
มอดูลัสของยัง (Young's modulus) หรือ มอดูลัสของสภาพยืดหยุ่น (modulus of elasticity หรือ elastic modulus) เป็นค่าบอกระดับความแข็งแกร่งของวัสดุ ค่ามอดูลัสของยังหาจาก ค่าลิมิดของอัตราการเปลี่ยนแปลงของความเค้น( stress )ต่อ  ความเครียด ( strain ) ที่ค่าความเค้นน้อย สามารถหาจากความชัน ของ กราฟความสัมพันธ์ ความเค้น-ความเครียดที่ได้จาก การทดลองดึง
*หน่วย  SI ของมอดูลัสของสภาพยืดหยุ่น คือ  ปาสคาล (pascal)

ค่ามอดูลัสของยัง
นั้้นมีประโยชน์ใช้ในการคำนวณพฤติกรรมในการรับแรงของวัสดุ ตัวอย่างเช่น สามารถใช้ในการคาดคะเน ความยืดของลวดในขณะรับแรงดึง หรือคำนวณระดับแรงดันที่กดลงบนแท่งวัสดุ แล้วทำให้แท่งวัสดุยวบหักลง ในการคำนวณจริงอาจมีค่าอื่นๆ เกี่ยวข้องด้วย เช่น  มอดูลัสของแรงเฉือน (shear modulus)  ความหนาแน่น
Y   =   ความเค้น  =   σ   =   (F/A)/(L/L)  =  (F.L)/(A.L )
          
ความเครียด     ε
โดย
Y    = มอดูลัสของยัง  มีหน่วยเป็น ปาสกาล (Pa) หรือ นิวตันต่อตารางเมตร (N/m^2)
σ   = ความเค้นตามยาว 
ε  
 = ความเครียดคามยาว
F    =  แรง ในหน่วย นิวตัน
A   = พื้นที่หน้าตัดรับแรง ในหน่วย ตารางเมตร

L  = ส่วนที่ยืดออกของวัสดุ ในหน่วย เมตร
L   = ความยาวปกติของวัสดุ ในหน่วย เมตร 


-นอกจากมอลูลัสของยังแล้ว ยังมีมอลูลัสประเภทอื่นอีก ได้แก่ มอดูลัสเฉือน (shear modulus)  
วัตถุที่มีมอดูลัสเฉือนสูง แสดงว่าวัตถุนั้นทนต่อการทำให้ผิวหนึ่งเลื่อนไปยนอีกผิวหนึ่ง หรือถ้าแรงที่กระทำต่อวัสดุเป็นแรงเฉือน จะเกิดคาวมเค้นและความเครียดเฉือนบนวัสดุนั้น อัตราส่วนระหว่าง ความเค้นเฉือนและความเครียดเฉือนจะมีค่าคงตัวเช่นกัน เรียกค่าคงตัวว่า มอดูลัสเฉือน แทนด้วย สัญลักษณ์ Gและเขียนได้ว่า
*มอดูลัสเฉือนมีหน่วย นิวตันต่อเมตร วัสดุมีค่ามอดูลัสเฉือนสูงแสดงว่าวัสดุนั้นทนต่อการทำให้ผิวหนึ่งเลื่อน ไปบนอีกผิวหนึ่ง



-อัตราส่วนระหว่างความเค้นเชิงปริมาตรและความเครียดเชิงปริาตร เรียกว่า มอดูลัสเชิงปริมาตร (bulk modulus)
แทนด้วยสัญลักษณ์ B และเขียนเป็นสูตรได้ว่า
มอดูลัสเชิงปริมาตรมีหน่วยเป็น นิวตันต่อเมตร วัสดุที่มีมอดูลัสเชิงปริมาตรสูงแสดงว่าวัสดุนั้นมีความทนต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตร

-มอดูลัสของยัง มอดูลัสเฉือนและมอดูลัสเชิงปริมาตร เรียกรวมกันว่า มอดูลัสสภาพยืดหยุ่น(elastic modulus) ซึ่งเขียนเป็นความสัมพันธ์ในรูปทั่วไปได้ว่า







 
K-On Tsumugi Kotobuki
ติดตามเรื่องนี้
เก็บเข้าคอลเล็กชัน

ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

ความคิดเห็น

กำลังโหลด...

ความคิดเห็น

กำลังโหลด...
×
แทรกรูปจากแกลเลอรี่ - Dek-D.com
L o a d i n g . . .
x
เรียงตาม:
ใหม่ล่าสุด
ใหม่ล่าสุด
เก่าที่สุด
ที่กำหนดไว้
*การลบรูปจาก Gallery จะส่งผลให้ภาพที่เคยถูกนำไปใช้ถูกลบไปด้วย

< Back
แทรกรูปโดย URL
กรุณาใส่ URL ที่ขึ้นต้นด้วย
http:// หรือ https://
กำลังโหลด...
ไม่สามารถโหลดรูปภาพนี้ได้
*เมื่อแทรกรูปเป็นการยืนยันว่ารูปที่ใช้เป็นของตัวเอง หรือได้รับอนุญาตจากเจ้าของ และลงเครดิตเจ้าของรูปแล้วเท่านั้น
< Back
สร้างโฟลเดอร์ใหม่
< Back
ครอปรูปภาพ
Picture
px
px
ครอปรูปภาพ
Picture