ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ประเทศลาว

    ลำดับตอนที่ #1 : ประเพณี

    • อัปเดตล่าสุด 14 ก.พ. 51


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย – ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ประเพณี
    • งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
    ฮีต หมายถึง จารีต
    สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
    ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
    เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรม
    ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
    เดือนยี่ : บุญคูณลาน
    ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
    ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
    เดือนสาม : บุญข้าวจี่
    ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
    ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
    เดือนสี่ : บุญพระเวส
    ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
    ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน

    เดือนห้า : บุญสงกรานต์
    ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
    ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
       วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
       วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
       วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
       วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
    เดือนหก : บุญบั้งไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
    ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
    ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
    ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
    เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
    เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
    ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
    ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
    การส่วงเฮือ
    ส่วง หมายถึง แข่งขัน
    เฮือ หมายถึง เรือ
    เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
    เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
    เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
    ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
    เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
    ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
    ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
    ประเพณีอื่นๆ

        การตักบาตรข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว)
    ทุก ๆ เช้าที่ยังคงมีอยู่ โดยจะมีชาวบ้านมานั่งรอคอยพระสงฆ์ ปั้นข้าวนึ่งหุงสุกใหม่ ๆ หย่อนลงใส่บาตร หลังจากนั้นจึงค่อยนำกับข้าวไปถวายให้ที่วัดอีกครั้งหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ยังคงพบเห็นได้โดยทั่วไปทั่วทุกหัวถนน ไม่ว่าจะเป็นวันที่มีฝนตก ภาพผู้คนที่นั่งรอคอยใส่บาตรท่ามกลางสายฝนก็มีให้เห็น
         หากจะนับหรือพิจารณาความเจริญหรือความเป็นเมืองศิวิไลซ์จากตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งทางการเงิน ลาวก็คงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศยากจนหรือกำลังพัฒนา แต่ถ้าวัดกันในเรื่องของ “ค่าทางความสุขใจ” ประเทศลาวถือได้ว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของความเจริญทางด้านคุณค่าแห่งความสุขด้านนี้ ผู้คนที่ยิ้มแย้มให้กับคนต่างถิ่น ความสงบไม่วุ่นวายในการดำรงชีวิต ประเพณีการแต่งกายแบบพื้นบ้านที่ยังคงหลงเหลืออยู่บนภาพการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ผู้ไปเยือนติดใจและหวังว่าสักวันจะได้กลับมาอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และแบ่งกั้นกันด้วยความเป็น “ประเทศ” แต่สำเนียง ภาษาที่สื่อสารยังคุ้นหู ทำให้ไม่รู้สึกห่างหรือรู้สึกถูกแบ่งแยกแต่อย่างใด


    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×