คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #1 : บทนำ
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
- ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 4-5 จักรวรรดิโรมันได้ถูกรุกรานจากพวกชนเผ่าอนารยชนหลายเผ่า พวกอ-นารยชนเหล่านี้ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในดินแดนส่วนต่างๆของจักรวรรดิโรมัน จักรพรรดิโรมันจึงพยายามสร้างความเข้มแข็งโดยการแบ่งจักรวรรดิออกเป็น 2 ภาค คือ จักรวรรดิโรมันตะวันตก ที่กรุงโรม และจักรวรรดิโรมันตะวันออก ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล แต่ท้ายที่สุดจักรวรรดิโรมันตะวันตกก็ล่มสลายด้วยน้ำมือของแม่ทัพเผ่าเยอรมัน ส่วนจักรวัดิโรมันตะวันออกหรือเรียกว่าจักรวรดิไบแซนไทน์ ยังคงอยู่ต่อมาได้อีกกว่า 1,000 ปี การที่จักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่ นับว่ามีความสำคัญต่ออารยธรรมตะวันตกเป็นอย่างมาก เนื่องจากได้ถ่ายทอดอารยธรรมกรีก-โรมันในด้านต่างๆต่อมา ทางคณะผู้จัดทำจึงสนใจที่จะศึกษาค้นคว้าเรื่องราวเกี่ยวพัฒนาการของยุโรปสมัยกลางนี้ เพื่อเป็นประโยชน์และเข้าใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ได้เป็นอย่างดี
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
- - เพื่อศึกษาพัฒนาการของยุโรปสมัยกลาง
- - เพื่อศึกษาอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
- - เพื่อศึกษาการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของยุโรปสมัยกลาง
- - เพื่อศึกษาเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
- - เพื่อศึกษาอารยธรรมสมัยกลาง
1.3 ขอบเขตของการจัดทำโครงงาน
- - หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ม.4-6 เล่ม 2 บทที่ 4 เรื่องพัฒนาการของยุโรปสมัยกลาง
- - http://www.thaigoodview.com/node/18462
- - http://writer.dek-d.com/clazp_nok/story/view.php?id=566963
- - http://202.143.144.83/~skb/computor/ganjana/west_modern_data.htm
- - http://www.baanjomyut.com/library/war_of_religions/01.html
- - http://variety.teenee.com/world/1.html
- - http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=767
- - http://www.baanjomyut.com/library/christianity/01.html
- - http://pojjamansk.exteen.com/20090302/entry-2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- - เข้าใจพัฒนาการและเหตุการณ์สำคัญของยุโรปสมัยกลาง รวมทั้งเห็นอิทธิพลของคริสต์ศาสนา ที่มีต่อช่วงเวลาดังกล่าว
- - สามารถเข้าใจของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
- - สามารถเข้าใจการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของยุโรปสมัยกลาง
- - สามารถเข้าใจเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
- - สามารถเข้าใจอารยธรรมสมัยกลาง
ความคิดเห็น