ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ห้องเรียนบลู สกาย (อ.เม)

    ลำดับตอนที่ #5 : บทเรียนที่สอง :: นิติเวชศาสตร์และสูติศาสตร์ (หอเมฆาและหออัสนี)

    • อัปเดตล่าสุด 8 เม.ย. 52


       สูติศาสตร์ (อังกฤษ: Obstetrics; มาจากภาษาละติน obstare การเตรียมพร้อม) เป็นศัลยศาสตร์เฉพาะทางที่เกี่ยวกับการดูแลผู้หญิงและทารกระหว่างการตั้งครรภ์, การคลอด, และระยะหลังคลอด ส่วนการผดุงครรภ์ (Midwifery) นั้นจะไม่อาศัยทักษะการศัลยศาสตร์ สูติแพทย์ส่วนมากมักจะเป็นแพทย์นรีเวชวิทยาด้วย ดูที่สูตินรีเวชวิทยา (Obstetrics and gynaecology)

       ระยะการตั้งครรภ์โดยเฉลี่ยของมนุษย์คืออายุครรภ์ประมาณ 40 สัปดาห์ หรือ 38 สัปดาห์นับจากวันปฏิสนธิ แบ่งออกเป็นสามไตรมาส

    *เนื่องจากหอเมฆาเป็นหญิงล้วนจึงให้เรียนเรื่องนี้นะ

    ===========================================================
        นิติเวชศาสตร์ (อังกฤษ: Forensic Medicine) มาจากคำว่า "Forensic" ซึ่งเป็นภาษาละติน หมายความถึงข้อตกลงที่มีการพิพาทกันทางกฎหมาย และคำว่า "Medicine" หมายถึงวิชาทางด้านการแพทย์ ซึ่งหมายความรวมถึงแพทย์ศาสตร์หรือเวชศาสตร์อีกด้วย นิติเวชศาสตร์เริ่มมีการเรียนการสอนครั้งแรกในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2456 โดยถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตรการแพทย์ วุฒิประกาศนียบัตรของโรงเรียนแพทย์ สำหรับสอนนักศึกษาแพทย์ในชั้นปีที่ 4 ต่อมามีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการศึกษาของคณะแพทย์ศาสตร์ เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันกับการเรียนการสอนในชั้นปริญญาตรี

    ===========================================================

    การบ้านของหอเมฆา

      ภาษาอังกฤษของสูติศาสตร์คืออะไรและการตั้งครรภ์โดยเฉลี่ยของมนุษย์ยาวนานเท่าไหร่นับจากวันปฏิสนธิ

    ===========================================================

    การบ้านของหออัสนี

      นิติเวชศาสตร์มีคำภาษาอังกฤษว่าอย่างไร และนิติเวชศาสตร์นี้เริ่มมีการสอนในประเทศไทยในปีใด


    ===========================================================

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×